กฎหมายต่อต้าน “ข่าวปลอม” มีมากมาย ไม่ควรใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง
อ่าน

กฎหมายต่อต้าน “ข่าวปลอม” มีมากมาย ไม่ควรใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง

“ข่าวปลอม” มาพร้อมกับอิทธิพลของโซเชียลมีเดีย ข้ออ้างว่า “ต่อต้านข่าวปลอม” อาจกลายเป็นการปิดกั้นการวิพากษ์วิจารณ์โดยสุจริตก็เป็นได้
กฎหมาย “หมิ่นประมาท” ทางอาญา เครื่องมือพื้นฐาน “ปิดปาก” การมีส่วนร่วม
อ่าน

กฎหมาย “หมิ่นประมาท” ทางอาญา เครื่องมือพื้นฐาน “ปิดปาก” การมีส่วนร่วม

ความผิดฐานหมิ่นประมาทเป็นเครื่องมือทางกฎหมายที่ถูกหยิบขึ้นมาใช้กันบ่อยครั้ง ท่ามกลางสถานการณ์ที่มีความขัดแย้ง มีทั้งโทษทางอาญา และทางแพ่ง
วิธีการดูแลจัดเก็บเอกสาร “ความลับราชการ” สามลำดับชั้น “ลับ” “ลับมาก” “ลับที่สุด”
อ่าน

วิธีการดูแลจัดเก็บเอกสาร “ความลับราชการ” สามลำดับชั้น “ลับ” “ลับมาก” “ลับที่สุด”

เอกสารราชการที่ปั๊มที่หัวกระดาษว่า “ลับ” มีกฎหมายกำหนดอยู่ว่า เอกสารใดจะถือเป็นความลับได้บ้าง มีวิธีขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างละเอียดอ่อน
ธุรกิจเตรียมปรับตัว! 10 ข้อควรรู้ ก่อนพ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ เริ่มใช้บังคับ
อ่าน

ธุรกิจเตรียมปรับตัว! 10 ข้อควรรู้ ก่อนพ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ เริ่มใช้บังคับ

ผู้ประกอบการที่เคยเก็บข้อมูลลูกค้า ลูกจ้าง หรือเคยนำข้อมูลมาวิเคราะห์ พัฒนาการขาย ต้องเตรียมปรับตัวใหญ่ ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ
สำรวจและเปรียบเทียบกฎหมายที่ให้อำนาจรัฐ“สอดส่อง” ประชาชน 4 ฉบับ
อ่าน

สำรวจและเปรียบเทียบกฎหมายที่ให้อำนาจรัฐ“สอดส่อง” ประชาชน 4 ฉบับ

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เป็นกฎหมายหลักที่ให้อำนาจรัฐ สอดส่องโลกออนไลน์ แต่เมื่อมีกฎหมายฉบับอื่นๆ ออกตามมา ก็ให้อำนาจเพิ่มเติมอีกอย่างน้อย 3 ฉบับ
“มีส่วนร่วมได้เท่าที่เขากำหนด” บทสรุปการมีส่วนร่วมยุคคสช.
อ่าน

“มีส่วนร่วมได้เท่าที่เขากำหนด” บทสรุปการมีส่วนร่วมยุคคสช.

ตลอดเกือบ 5 ปี ที่ประเทศต้องอยู่ภายใต้การปกครองของคสช. ดูเหมือนขอบเขตของการมีส่วนร่วมของประชาชนในมิติต่างๆ จะดูแคบลง เพราะ คสช. ต้องการจะผูกขาดอำนาจในการออกกฎหมายและนโยบาย ในขณะเดียวกันก็เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้เท่าที่ คสช. กำหนด หากล้ำเส้นมากไปกว่านั้น อำนาจรัฐจะเข้ามาจัดการกับประชาชนที่ไม่ยอมเชื่อฟัง
คนจนที่ถูกบดบังด้วยสิ่งปลูกสร้างทางเศรษฐกิจใต้เงา คสช.
อ่าน

คนจนที่ถูกบดบังด้วยสิ่งปลูกสร้างทางเศรษฐกิจใต้เงา คสช.

หลังจาก คสช. เข้ามาเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ ได้เร่งผลักดันโครงการพัฒนาของรัฐทั้งทางคมนาคมและการพัฒนาเศรษฐกิจเมือง แต่ด้วยความเร่งด่วน ทำให้เริ่มโครงการโดยไม่ได้สนใจถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อคนในพื้นที่ ซึ่งคนจนที่ไม่มีที่ดินเป็นของตนเองได้รับผลกระทบเป็นวงกว้างหลายหมื่นคน 
การแย่งยึดที่ดินโดยกฎหมาย ใต้เงา คสช.
อ่าน

การแย่งยึดที่ดินโดยกฎหมาย ใต้เงา คสช.

ภายใต้รัฐบาล คสช. เน้นการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการตั้งนิคมอุตสาหกรรมใหม่ๆ ซึ่งเอาที่ดินจากแหล่งอื่นมาใช้งาน จึงมีการใช้ "มาตรา44" ออกคำสั่ง และออก พ.ร.บ. หลายฉบับ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เอาที่ดินในมือรัฐ หรือในมือประชาชน มามอบให้กลุ่มทุนใหญ่ใช้ประโยชน์ได้
ไม่มีนโยบายทวงคืนผืนป่า มีแต่การแย่งยึดที่ดินชาวบ้านใต้เงา คสช.
อ่าน

ไม่มีนโยบายทวงคืนผืนป่า มีแต่การแย่งยึดที่ดินชาวบ้านใต้เงา คสช.

หลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ายึดอำนาจ นโยบายสำคัญที่คสช. เร่งรัดดำเนินการคือ ‘ทวงคืนผืนป่า’ ผ่านการออกคำสั่งจำนวนสองฉบับ ได้แก่ คำสั่ง คสช.ฉบับที่ 64/2557 และ 66/2557 ส่งผลให้ชาวบ้านถูกไล่ออกจากที่ดิน ไร้ที่ทำกิน ไม่มีที่อยู่อาศัย แต่ทว่า คสช. ก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายในการทวงคืนผืนที่ป่าตามที่หวังเอาไว้
การศึกษาไทยใต้เงาคสช.
อ่าน

การศึกษาไทยใต้เงาคสช.

อาจเป็นเพราะตลอดเวลาที่คสช.อยู่ในอำนาจ กฎหมายและกลไกอื่นๆของรัฐได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือจำกัดเสรีภาพของบุคลากรในภาควิชาการ อาจารย์และนักศึกษาบางส่วนได้รับสถานะ ”จำเลย” คดีอาญาเป็นของขวัญจากการจัดกิจกรรมทางวิชาการหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง ขณะที่บางคนแม้ไม่มีคดีติดตัวแต่การแสดงออกก็ทำให้พวกเขาถูกหมายปองโดยคสช.บางคนถูกเรียกรายงานตัวในค่ายทหาร บางคนตกเป็นเป้าหมายมีทหารตำรวจเป็นแขกไปเยี่ยมถึงบ้านหรือมหาวิทยาลัย