สส. ยับยั้งร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ 180 วัน หลัง สว. ทำป่วน แก้กลับใช้เสียงข้างมากสองชั้นกับประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สส. ยับยั้งร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ 180 วัน หลัง สว. ทำป่วน แก้กลับใช้เสียงข้างมากสองชั้นกับประชามติแก้รัฐธรรมนูญ

18 ธันวาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษษฎร มีมติ “ไม่เห็นชอบ” กับร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่ผ่านการพิจารณาของกรรมาธิการร่วมกัน ซึ่งอิงแนวทางของ สว. กลับไปใช้เสียงข้างมากสองชั้นกับประชามติกรณีแก้รัฐธรรมนูญ ส่งผลให้ต้องยับยั้งร่างกฎหมายไว้ 180 วัน
ร่างพ.ร.บ.สมาคมและมูลนิธิ ที่ไทยเสนอ กำลังคุกคามภาคประชาสังคม และสื่อของเมียนมา
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.สมาคมและมูลนิธิ ที่ไทยเสนอ กำลังคุกคามภาคประชาสังคม และสื่อของเมียนมา

ร่างพ.ร.บ.สมาคมและมูลนิธิ ที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ ถ้าผ่านออกมาใช้แบบกว้างขวางอาจกระทบชาวเมียนมาที่ลี้ภัยการรัฐประหาร และกำลังทำงาน ทำสื่อ หรือรณรงค์ในประเทศไทย
สว. ผ่านร่างแก้กฎหมายแพ่งห้ามตีเด็กสามวาระรวดในวันเดียว
อ่าน

สส. ยกมือผ่านร่างแก้กฎหมายแพ่งห้ามตีเด็ก พ่อแม่ลงโทษสั่งสอนได้แต่ห้ามใช้วิธีรุนแรง ส่งไม้ต่อให้ สว. พิจารณาอีกสามวาระ

30 ตุลาคม 2567 สส. ยกมือผ่านร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เพิ่มหลักประกันไม่ให้พ่อแม่ลงโทษลูกด้วยวิธีทารุณ ทำร้ายร่างกาย จิตใจ ส่งไม้ต่อให้ สว. พิจารณา
ตรวจการบ้าน 1 ปีรัฐบาลเพื่อไทย อดีตนายกฯ เศรษฐา ปัดตกกฎหมายไป 17 ฉบับ
อ่าน

ตรวจการบ้าน 1 ปีรัฐบาลเพื่อไทย อดีตนายกฯ เศรษฐา ปัดตกกฎหมายไป 17 ฉบับ

ตลอดระยะเวลาเกือบหนึ่งปีของเศรษฐา อดีตนายกฯ ที่ถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยพ้นตำแหน่งไป “ปัดตก” ร่างกฎหมายไป 17 ฉบับ เก้าฉบับเสนอโดย สส. และอีกแปดฉบับ มาจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายต่อสภา
เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กระบวนการแก้ไขพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับกับการประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ส่อแววล่าช้าเมื่อ สว. ลงมติพลิกกลับมติ สส. ขอแก้ไขเนื้อหาร่าง ส่งผลให้กระบวนการพิจารณายืดออกไปอีก
สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ
อ่าน

สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ

9 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไข ให้คงเกณฑ์เสียงข้างมากสองชั้นสำหรับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 0 เสียง ไม่เห็นชอบ 348 เสียง งดออกเสียง 65 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง กระบวนการหลังจากนี้คือสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต้องตั้งกรรมาธิการ (กมธ.) ร่วมกัน เพื่อพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ และส่งกลับให้ทั้งสองสภาลงมติอีกครั้งว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 
โฆษณาสินค้า-บริการสายมู “เกินจริง” ต้องระวัง! เสี่ยงขัดกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
อ่าน

โฆษณาสินค้า-บริการสายมู “เกินจริง” ต้องระวัง! เสี่ยงขัดกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

แม้สินค้าและบริการแบบ “สายมู” จะเกี่ยวพันกับความเชื่อส่วนบุคคลโดยเฉพาะ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ผู้ขายหรือผู้ให้บริการจะสามารถ “โฆษณา” หรือ “ชักจูงใจ” ด้วยวิธีการหรือข้อความใดๆ ก็ได้ เพราะอาจเข้าข่ายขัดต่อกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ

30 กันยายน 2567 ที่ประชุม สว. มีมติเห็นชอบร่างแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ประชามติ ตามที่กรรมาธิการเสนอแก้ไข ด้วยคะแนนเห็นชอบ 167 เสียง ไม่เห็นชอบ 19 เสียง และงดออกเสียง 7 เสียง โดยเปลี่ยนเกณฑ์เสียงข้างมากธรรมดาที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบให้คงไว้ซึ่งเสียงข้างมากสองชั้นในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ
สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน
อ่าน

สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน

21 สิงหาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติผ่านร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ในวาระสาม ด้วยคะแนนเห็นชอบ 409 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง เพื่อปลดล็อก “เสียงข้างมากสองชั้น” ที่ใช้ชี้วัดว่าการทำประชามตินั้นจะมีข้อยุติหรือไม่ มาใช้เสียงเสียงข้างมากแทน
สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ. ประชามติ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น”
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ. ประชามติ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น”

18 มิถุนายน 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ “สี่ฉบับ” ซึ่งมีสาระสำคัญคือการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564 (พ.ร.บ.ประชามติฯ) ในประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติ