ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
อ่าน

ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์
ร่าง พ.ร.บ.ปราบปรามสิ่งยั่วยุ: ปกป้องเด็กหรือละเมิดสิทธิ?
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ปราบปรามสิ่งยั่วยุ: ปกป้องเด็กหรือละเมิดสิทธิ?

ร่างพ.ร.บ.ปราบปรามสิ่งยั่วยุเป็นหนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ" เพื่อป้องกันเด็กลอกเลียนแบบพฤติกรรมจากข่าวพฤติกรรมน่าหวาดเสียว หรือพฤติกรรมที่ยั่วยุให้เกิดการเอาอย่าง ที่น่าสนใจคือเจ้าหน้าที่สามารถค้นบ้าน-ดักฟังได้ หากสงสัยว่ามีการกระทำผิดขึ้น นอกจากนี้ ยังมีข้อถกเถียงว่าร่างพ.ร.บ.นี้จะปราบปรามสิ่งยั่วยุอย่างไร จึงจะไม่ละเมิดเสรีภาพของพลเมือง
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
แก้กฎหมายศาลทหาร หวังยกมาตรฐานเทียบเท่าศาลพลเรือน
อ่าน

แก้กฎหมายศาลทหาร หวังยกมาตรฐานเทียบเท่าศาลพลเรือน

ข้อเสนอแก้พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร ที่อยู่ใน สนช. ตอนนี้ เพิ่มเงินเดือนให้ตุลาการพระธรรมนูญและอัยการทหาร ปรับหลักการหลายอย่างให้สอดคล้องกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และยังมีข้อถกเถียงเรื่องการให้ทหารสั่งขังผู้ต้องสงสัยโดยไม่ขอหมายศาลได้
หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
การดำเนินคดีแบบกลุ่ม ตามข้อเสนอร่างแก้ไขวิธีพิจารณาความแพ่ง
อ่าน

การดำเนินคดีแบบกลุ่ม ตามข้อเสนอร่างแก้ไขวิธีพิจารณาความแพ่ง

การละเมิดที่มีผู้เสียหายจำนวนมาก หากทุกคนต้องฟ้องแยกกันเป็นสิบๆ คดีคงวุ่นวายมาก และคดีความคงจะรกโรงรกศาลไปหมด "การดำเนินคดีแบบกลุ่ม" จึงเป็นแนวคิดให้โจทก์เป็นตัวแทนฟ้องครั้งเดียว คนอื่นก็มีสิทธิได้ค่าเสียหายด้วย แต่แนวคิดนี้ก็ยังมีข้อน่ากังวลอยู่หลายประการ
19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)
อ่าน

19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)

ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ
ความน่ากังวลบางประการต่อร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์ฯ
อ่าน

ความน่ากังวลบางประการต่อร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์ฯ

ร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ เป็นหนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ" ซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ให้อำนาจเจ้าหน้าที่เข้าถึงข้อมูลการสื่อสารโดยไม่มีหมายศาล ทั้งไปรษณีย์ โทรเลข โทรสาร โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ และอาจส่งผลกระทบต่อบรรษัททั้งไทยและต่างชาติ เพราะเจ้าหน้าที่สามารถ “ขอความร่วมมือ” หรือสั่งให้บรรษัท กระทำการหรืองดเว้นการกระทำการใดๆ ก็ได้ 
ร่างกฎหมาย กสทช.ใหม่ เตรียมดึงคลื่นความถี่กลับสู่รัฐอีกครั้ง
อ่าน

ร่างกฎหมาย กสทช.ใหม่ เตรียมดึงคลื่นความถี่กลับสู่รัฐอีกครั้ง

ร่างแก้ไขพ.ร.บ.กสทช. เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้จะลดอำนาจ กสทช.ให้เป็นเพียงส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อหน่วยงานใหม่ที่เรียกว่า คณะกรรมการดิจิทัลฯ เปลี่ยนวิธีการจัดสรรเคลื่อนความถี่เป็นการคัดเลือก รวมทั้งนำเงินจากกองทุน กทปส.ที่ใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นของคณะกรรมการดิจิทัล 
ร่างแก้ไขวิ.อาญาฯ: เพิ่มอำนาจดักฟังโทรศัพท์ ใครใช้สิทธิไม่ให้การให้สันนิษฐานว่าผิด
อ่าน

ร่างแก้ไขวิ.อาญาฯ: เพิ่มอำนาจดักฟังโทรศัพท์ ใครใช้สิทธิไม่ให้การให้สันนิษฐานว่าผิด

ร่างแก้ไข วิ.อาญาฯ เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้เพิ่มอำนาจตำรวจในการดักฟังโทรศัพท์และดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ของประชาชน โดยต้องขอหมายศาล และกำหนดว่าหากผู้ต้องหาใช้สิทธิไม่ให้การในชั้นสอบสวน แล้วอ้างในชั้นศาล ศาลจะไม่รับฟัง