#สมรสเท่าเทียม ต้องเริ่มเสนอใหม่ อยากให้เกิดขึ้นจริงได้ต้องช่วยกันส่งเสียง-จับตาสภา
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ต้องเริ่มเสนอใหม่ อยากให้เกิดขึ้นจริงได้ต้องช่วยกันส่งเสียง-จับตาสภา

ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เคยผ่านวาระหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง 2562 นั้น "ตกไป" แล้ว การจะผลักดันกฎหมายสมรสเท่าเทียมให้เกิดขึ้นจริงได้จึงต้องเสนอร่างใหม่ ซึ่งมีร่างจากภาคประชาชนและร่างจากพรรคการเมืองพร้อมเสนอเข้าสภาแล้ว
เวทีนโยบายความหลากหลายทางเพศ หลายพรรคย้ำ ผลักดัน #สมรสเท่าเทียม รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ
อ่าน

เวทีนโยบายความหลากหลายทางเพศ หลายพรรคย้ำ ผลักดัน #สมรสเท่าเทียม รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ

30 มี.ค. 2566 ตัวแทนจาก 12 พรรคการเมือง เข้าร่วมเวที “สิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566” เพื่อรับฟังเสียงและข้อเสนอจากภาคประชาชน และนำเสนอนโนบายเพื่อแสดงจุดยืนของพรรคในด้านการสนับสนุน คุ้มครอง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อประชาชนเพศหลากหลาย
#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ

28 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นวันปิดสมัยประชุมสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 62 หากร่างกฎหมายใดที่พิจารณาไม่ทันสภาชุดนี้ ก็จะเป็นอันตกไป หนึ่งในร่างกฎหมายที่อาจพิจารณาไม่ทันคือ #สมรสเท่าเทียม อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญ 60 ก็ยังเปิดช่องให้ร่างกฎหมายที่ตกไป มีทางไปต่อได้
จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?
อ่าน

จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?

10 มิถุนายน 2564 กลุ่ม Nitihub จัดงานเสวนาวิชาการออนไลน์ในหัวข้อ “LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม ?” ประกอบด้วยวิทยากรหลักห้าคน ได้แก่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ รองศาสตราจารย์มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล เคท ครั้งพิบูลย์ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ศิริศักดิ์ ไชยเทศ และอัครวัฒน์ เลาวัณย์ศิริ พูดคุยกันถึงประเด็นปัญหาทางสังคม-กฎหมาย ที่ยังไม่เปิดพื้นที่แก่ LGBTQI
#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

เนื่องจากมีการเผยแพร่ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ชวนทุกคนมาสำรวจหลักกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรสที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันว่า มีเนื้อหาอย่างไร และร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวจะทำให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางไหน เพื่อที่จะได้ส่งเสียงออกไปด้วยความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส
อ่าน

Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

มิถุนายนถูกกำหนดให้เป็น Pride Month แต่ไทยก็ยังไม่มีกฎหมายรับรอง 'สิทธิในการก่อตั้งครอบครัว' ของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หลายกลุ่มได้เริ่มผลักดันกฎหมายโดยมีอยู่ 2 แนวทางหลัก เสนอให้ยกร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ออกมาเป็นกฎหมายแยก และแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ขอปลดล็อกการแต่งกายทนายความ ข้ามผ่านข้อจำกัดเรื่องเพศ
อ่าน

ขอปลดล็อกการแต่งกายทนายความ ข้ามผ่านข้อจำกัดเรื่องเพศ

10 มิถุนายน 2563 ทนายความจากสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเข้าพบตัวแทนสภาทนายความ เพื่อยื่นหนังสือเสนอให้แก้ไขข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529 เนื่องจากข้อบังคับดังกล่าวได้กำหนดให้ทนายความเพศหญิงต้องใส่กระโปรง และมีโทษหากไม่ปฏิบัติตาม
ศาลรัฐธรรมนูญชี้ กฎหมายอาญาห้ามทำแท้งขัดรัฐธรรมนูญ สั่งแก้ไขใน 360 วัน
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญชี้ กฎหมายอาญาห้ามทำแท้งขัดรัฐธรรมนูญ สั่งแก้ไขใน 360 วัน

คดีจากการยื่นคำร้องของกลุ่มอาสาไทย ส่งให้ผู้ตรวจการแผ่นดินแล้วแต่ไม่ส่งเรื่องต่อ จึงยื่นตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญเอง จนศาลชี้ว่า กฎหมายห้ามทำแท้ง มาตรา 301 ขัดรัฐธรรมนูญ แต่ผลที่จะเกิดต่อไปยังไม่ชัด เนื่องจากให้คำวินิจฉัยมีผลบังคับในอีก 360 วันให้หลัง
อ่าน

ไม่มีพื้นที่สำหรับเยาวชนและ LGBT ร่วมกำหนดกฎหมาย-นโยบาย

งานเสวนาสาธารณะสตรี ที-ทอล์ค ครั้งที่ 2 วรรณพงษ์ ยอดเมือง กล่าวว่า เป็นไปไม่ได้เลยที่จะมีเยาวชนอยู่ใน สนช. อีกทั้งสัดส่วนของ สนช. ก็มีผู้หญิงเพียง 12 คน จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะมีความหลากหลายทางเพศอยู่ในนั้น