ถกปัญหาการประกันตัวผู้ต้องหาคดีการเมือง ควรประเมินความเสี่ยงที่จะหนี ไม่ใช่ “เหมาเข่ง”
อ่าน

ถกปัญหาการประกันตัวผู้ต้องหาคดีการเมือง ควรประเมินความเสี่ยงที่จะหนี ไม่ใช่ “เหมาเข่ง”

14 สิงหาคม 2564 คณะนิติศาสตร์ มธ. จัดเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “การประกันตัวผู้ต้องหาคดีอาญา: มุมมองและข้อสังเกต” พูดคุยถึงปัญหาในการตีความข้อกฎหมายและปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันตัวในคดีอาญา โดยเฉพาะในกรณี “คดีการเมือง” ซึ่งหลายคดีศาลไม่อนุญาตให้ประกันตัว 
ตำรวจใช้กำลังทำ “ละเมิด” ต้องชดใช้ค่าเสียหาย ประชาชนฟ้อง “ต้นสังกัด” ได้เลย
อ่าน

ตำรวจใช้กำลังทำ “ละเมิด” ต้องชดใช้ค่าเสียหาย ประชาชนฟ้อง “ต้นสังกัด” ได้เลย

จากการสลายชุมนุมหรือวิธีควบคุมการชุมนุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้ชุมนุมต้องเผชิญกับการใช้กำลังของตำรวจทั้งด้วยปืนฉีดน้ำแรงดันสูง แก๊สน้ำตา จนถึงกระสุนยาง กฎหมายได้ออกแบบช่องทางเพื่อให้บุคคลที่ได้รับผลกระทบสามารถได้รับการเยียวยาผ่านทาง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  
ส่องกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองฯ แก้ไขใหม่ เพิ่มอำนาจกรรมการบริหารศาลปกครองออกระเบียบ “ค่าตอบแทนพิเศษ”
อ่าน

ส่องกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองฯ แก้ไขใหม่ เพิ่มอำนาจกรรมการบริหารศาลปกครองออกระเบียบ “ค่าตอบแทนพิเศษ”

ชวนดูพ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ ฉบับล่าสุด ประกาศเมื่อ 26 พฤษภาคม 2564 แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจคณะกรรมการบริหารศาลปกครอง ในสามารถออกระเบียบระเบียบเกี่ยวกับ “เงินค่าตอบแทนพิเศษและสิทธิประโยชน์” ได้
เสียงจากนักเรียนนายร้อยตำรวจ ในวันที่ความฝันพังทลาย
อ่าน

เสียงจากนักเรียนนายร้อยตำรวจ ในวันที่ความฝันพังทลาย

ในสภาวะที่สถาบันตำรวจต้องเผชิญกับการเปลี่ยนผ่านและแรงกดดันจากสังคม เราชวน “เอก” ข้าราชการตำรวจ มาพูดคุยถึงความฝัน  ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และมุมมองของเขาในฐานะตำรวจรุ่นใหม่ที่มีต่อสถาบันตำรวจท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบัน
“คุกซ้อนคุก” ชีวิตผู้ต้องขังในโควิดระลอกที่ 3
อ่าน

“คุกซ้อนคุก” ชีวิตผู้ต้องขังในโควิดระลอกที่ 3

คุณ “บี” อดีตผู้ต้องขังหญิงแดนใน ทัณฑสถานหญิงกลางชวนไอลอว์เล่าถึงสถานการณ์ #โควิดเรือนจำ ที่เธอประสบระหว่างถูกคุมขังโดยหวังว่าคำบอกเล่าของเธอจะทำให้สถานการณ์ในเรือนจำได้รับความสนใจจากสาธารณชนซึ่งจะกระตุ้นให้ภาครัฐหาทางแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ให้ดีขึ้น 
ศาลอังกฤษและสหรัฐฯ เน้นย้ำถึงสิทธิในการจดบันทึกในห้องพิจารณาคดี
อ่าน

ศาลอังกฤษและสหรัฐฯ เน้นย้ำถึงสิทธิในการจดบันทึกในห้องพิจารณาคดี

เมื่อลองดูตัวอย่างในต่างประเทศอย่างอังกฤษและสหรัฐอเมริกา สาธารณชนสามารถจดบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นในห้องพิจารณาคดีได้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อน การจะสั่งห้ามใด ๆ นั้นต้องมีเหตุผลรองรับและบังคับใช้เป็นรายกรณีไป ไม่สามารถสั่งห้ามเป็นการทั่วไปได้ ทั้งนี้ก็เป็นเพราะการจดบันทึกจะเป็นเครื่องรับรองความโปร่งใสและประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรมเอง
เปิดร่างพ.ร.บ.ตำรวจฯ สร้างระบบคุณธรรม ประชาชนมีส่วนร่วม ปฏิรูปตั๋วตำรวจ
อ่าน

เปิดร่างพ.ร.บ.ตำรวจฯ สร้างระบบคุณธรรม ประชาชนมีส่วนร่วม ปฏิรูปตั๋วตำรวจ

24 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาได้พิจารณาลงมติในวาระแรก “รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.ตำรวจฯ ร่างกฎหมายดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อ “รีเซ็ต” กฎหมายตำรวจเดิม และกำหนดระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม อันเป็นหนึ่งในแผนการ “ปฏิรูปประเทศ” ที่คสช. ตั้งเป้าหมายไว้
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ กับความพยายามคุ้มครองเด็กเเละเยาวชนเเทนการลงโทษ
อ่าน

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ กับความพยายามคุ้มครองเด็กเเละเยาวชนเเทนการลงโทษ

ชวนทำความเข้าใจกระบวนการเมื่อเด็กหรือเยาวชนถูกดำเนินคดีอาญา พวกเขาจะขึ้นศาลเยาวชนและครอบครัว ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินคดีที่แตกต่างไปจากผู้ใหญ่
ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น
อ่าน

ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น

องค์กรสิทธิมนุษยชนอย่างแอมแนสตี้ ประเทศไทย ส่งหนังสือถึงสำนักประธานฎีกาขอให้ศาลมีมาตรการคุ้มครองผู้ต้องขังและนักโทษเพื่อลดความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด19 ทั้งในและนอกเรือนจำ รวมถึงขอให้ดำเนินการลดการคุมขังที่ไม่จำเป็นทุกขั้นตอน
เส้นทางเหลื่อมล้ำของการสอบเป็นผู้พิพากษา – อัยการ
อ่าน

เส้นทางเหลื่อมล้ำของการสอบเป็นผู้พิพากษา – อัยการ

ระบบการสอบคัดเลือกผู้พิพากษา-อัยการในประเทศไทยแบ่งการสอบออกเป็นสามประเภท แบ่งตาม “วุฒิการศึกษา” ประกอบกับสถิติผู้สอบผ่านแต่ละสนามที่แตกต่างกันมาก ทำให้เกิดคำถามว่า แท้จริงแล้ว โอกาสที่คนธรรมดาจะดำรงตำแหน่งผู้พิพากษา-อัยการมีมากน้อยเพียงใด