ชุดนักโทษอาเซียน ASEAN Inmate Uniforms
อ่าน

ชุดนักโทษอาเซียน ASEAN Inmate Uniforms

ขณะที่ “ประชาคมอาเซียน” กำลังเดินทางมาในปี 2015 และขณะที่เรากำลังจะพูดคุยเรื่อง “ชุดนักโทษ” ว่าควรจะเป็นยังไงดี ควรจะมีหรือไม่มี มาแอบดูชุดนักโทษและกฎระเบียบเมื่อนำตัวผู้ต้องขังไปศาลของประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียนกันสักหน่อย  
ชวนคนมีไอเดียออกแบบชุดนักโทษใหม่ ภายใต้แนวคิด “นักโทษก็เป็นคน”
อ่าน

ชวนคนมีไอเดียออกแบบชุดนักโทษใหม่ ภายใต้แนวคิด “นักโทษก็เป็นคน”

iLaw ร่วมกับแฟนเพจ คนห้องกรง ชวนคนมีไอเดียและอยากเห็นชุดนักโทษดูดีกว่านี้ เข้าร่วมการประกวด "ออกแบบชุดนักโทษใหม่" ภายใต้แนวคิด "นักโทษก็เป็นคน"   
สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์: คอร์รัปชั่นต้องเป็นวาระร่วมกันของคู่ขัดแย้งทุกฝ่าย
อ่าน

สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์: คอร์รัปชั่นต้องเป็นวาระร่วมกันของคู่ขัดแย้งทุกฝ่าย

การคอร์รัปชั่นยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่แก้ไม่ตกในสังคมไทย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ หนี่งในขาประจำที่ทำหน้าที่ติดตามตรวจสอบนโยบายและการทำงานของรัฐบาลต่างๆ อย่างแข็งขัน จะมาช่วยไขข้อสงสัยเรื่องการคอร์รัปชั่นในสังคมไทย ผ่านประสบการณ์ตรงที่ลงมือวิจัยศึกษามา
แอบดูข้อเสนอปฏิรูปกฎหมายคอรัปชั่น ตามแนวทาง กปปส.
อ่าน

แอบดูข้อเสนอปฏิรูปกฎหมายคอรัปชั่น ตามแนวทาง กปปส.

หนึ่งในเหตุผลการชุมนุมของ กปปส. คือการทุจริตคอร์รัปชั่นของนักการเมือง พวกเขาจึงเสนอการปฏิรูประบบการตรวจสอบทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อให้การเมืองไทยโปร่งใสมากขึ้่น น่าสนใจว่าข้อเสนอข้อ กปปส. มีข้อเด่น ข้อด้อยอย่างไร เมื่อเทียบกับกฏหมายที่ใช้อยู่ปัจจุบัน 
วิธีเอาผิดนักการเมืองโกง (ตามกฏหมาย)
อ่าน

วิธีเอาผิดนักการเมืองโกง (ตามกฏหมาย)

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันของนักการเมือง เป็นปัญหาหนึ่งในหลายปัญหาที่สำคัญในประเทศไทย ในการชุมนุมของ กปปส. ข้อเรียกร้องหนึ่งคือ การปฎิรูประบบการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตคอร์รั่ปชั่น ดังนั้นจึงน่าสงสัยว่า ปัจจุบันระบบการตรวจสอบการทุจริตนักการเมืองทำงานอย่างไร? แล้วเพียงพอหรือไม่ในการควบคุมนักการเมือง?
เน้นสภาพเรือนจำ การส่งกลับผู้ลี้ภัย การใช้กฎหมายพิเศษ ในรายงานคู่ขนานสถานการณ์การทรมาน
อ่าน

เน้นสภาพเรือนจำ การส่งกลับผู้ลี้ภัย การใช้กฎหมายพิเศษ ในรายงานคู่ขนานสถานการณ์การทรมาน

ภาครัฐส่งรายงานสถาการณ์การทรมานในประเทศไทยต่อกรรมการสากลแล้ว ภาคประชาสังคมมีเวลาถึงต้นปีหน้า เตรียมจัดทำรายงานคู่ขนานระบุประเด็นสำคัญ คำนิยามของ"ทรมาน" การป้องกันเหตุ การบังคับใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง สภาพในเรือนจำ การผลักดันผู้ลี้ภัย และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
“ขอพระราชทานอภัยโทษ” ช่องว่างบนเส้นทางสู่อิสรภาพ
อ่าน

“ขอพระราชทานอภัยโทษ” ช่องว่างบนเส้นทางสู่อิสรภาพ

ว่ากันว่า แม้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 จะมีโทษหนักแต่กฎหมายนี้ก็ไม่ได้น่ากลัวและไม่ได้ทำให้ใครเดือดร้อน เพราะเมื่อมีใครถูกลงโทษ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะพระราชทานอภัยโทษให้ในท้ายที่สุด ดังเช่น กรณีนายวีระ มุกสิกพงศ์ ในปี 2531 นายโอลิเวอร์ ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ในปี 2550 นายแฮรี่ ชาวออสเตรเลีย ในปี 2552  การพระราชทานอภัยโทษ เป็นขั้นตอนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กรมคุ้มครองสิทธิฯ เผยสามร่างกฎหมายคุ้มครองเสรีภาพประชาชน ร่างเสร็จพร้อมเสนอ
อ่าน

กรมคุ้มครองสิทธิฯ เผยสามร่างกฎหมายคุ้มครองเสรีภาพประชาชน ร่างเสร็จพร้อมเสนอ

ร่างพ.ร.บ.จดทะเบียนคู่ชีวิต ร่างพ.ร.บ.ข้อสัญญาไม่เป็นธรรม กรณีเกษตรพันธะสัญญา และร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญา ประเด็นต่อต้านการทรมาน กรมคุ้มครองสิทธิร่างเสร็จแล้ว แต่ยังไม่ได้เสนอ เพราะรอ10,000 ชื่อจากประชาชน
“ไม่มีเหตุผลสิ้นดี”: มาตรา 112กับสิทธิการประกันตัว
อ่าน

“ไม่มีเหตุผลสิ้นดี”: มาตรา 112กับสิทธิการประกันตัว

เครือข่ายญาติและผู้ประสบภัยจากมาตรา 112 แถลงข่าวความคืบหน้าการดำเนินคดีต่อ สมยศ พฤกษาเกษมสุข อดีตบก. Voice of Taksin จำเลยคดี 112 และจัดเสวนาหาคำตอบว่า เหตุใดจำเลยคดี112 มักไม่ได้รับการประกันตัว อะไรคือมาตรฐานการให้ประกันตัวของไทย และการนักโทษ112 ในเรือนจำมีชะตากรรมอย่างไร
สถานการณ์ซ้อมทรมานปี 2555: ยังเลวร้าย ไม่เปลี่ยนแปลง
อ่าน

สถานการณ์ซ้อมทรมานปี 2555: ยังเลวร้าย ไม่เปลี่ยนแปลง

การซ้อมทรมานเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในประเทศไทย แม้ว่าในปี2550 รัฐไทยจะเข้าเป็นภาคีกับอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี แต่ระบบกฎหมายไทยกลับไม่มีนิยามหรือกำหนดบทลงโทษที่ชัดเจนสำหรับความผิดฐานทรมาน ทำให้การซ้อมทรมานยังเกิดขึ้นต่อเนื่องโดยไม่มีทีท่าว่าจะเบาบางลงไป