พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
เปิดพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ จับกุมคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องมีที่ปรึกษากฎหมาย
อ่าน

เปิดพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ จับกุมคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องมีที่ปรึกษากฎหมาย

จากการรวบรวมสถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ 112 มีเด็ก และเยาวชนถูกดำเนินคดีแล้วจำนวน 18 ราย ใน 21 คดี กรณีล่าสุดคือ “หยก” เด็กนักเรียนผู้ถูกออกหมายเรียกคดี 112 ในตอนที่อายุเพียงแค่ 14 ปี ชวนดูกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีเด็กและเยาวชน กำหนดไว้อย่างไรบ้าง 
เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?
อ่าน

เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?

พุทธศักราช 2563-2566 นับว่าเป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่มีสถิติการบังคับใช้มาตรา 112 แบบแปลกๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ จำนวนผู้ถูกตั้งข้อหาในภาพรวมพุ่งสูงเกิน 200 คน, จำนวนคดีต่อคนสูงสุดอยู่ที่ 23 คดี, เกิดคดีการฟ้องทางไกลข้ามจังหวัดระยะทางกว่า 1,800 กิโลเมตร หรือมี “นักร้องหน้าซ้ำ” ที่ไปริเริ่มคดีไว้ที่สถานีตำรวจเดิมด้วยตัวเองมากถึงเก้าครั้ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สถิติใหม่หนึ่งที่น่ากังวลใจ คือการนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนเป็นครั้งแรก โดยจากข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ปัจจุบันมีเด็กและเยาวชนที่อายุไม่เกิน 18 ปีถูกดำ
พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ
อ่าน

พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ

การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา พ.ร.ก. แก้ไข พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ทำให้สภาไม่มีโอกาสได้ลงมติ ซึ่งในระหว่างนี้บางมาตราของ พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ก็จะถูกอุ้มหายไปด้วย รวมถึงรัฐบาลที่จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหาก พ.ร.ก. ไม่ได้รับความเห็นชอบก็จะหมดอายุตามสภาไปแล้ว
ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ
อ่าน

ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 ส.ส. 100 คน เข้าชื่อกันเสนอต่อประธานสภา เพื่อส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่า พ.ร.ก. เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 กำหนด
คปช.53 ยื่นหนังสือฝ่ายค้าน เสนอนโยบายทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดง ลงนาม ICC
อ่าน

คปช.53 ยื่นหนังสือฝ่ายค้าน เสนอนโยบายทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดง ลงนาม ICC

23 กุมภาพันธ์ 2566 13.00 น. คณะประชาชนทวงคืนความยุติธรรม 2553 (คปช.53) เข้ายื่นหนังสือกับตัวแทนพรรคฝ่ายค้าน เสนอนโยบายเพื่อทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดงและประชาชนที่ถูกกระทำจากการเป็นผู้เห็นต่างทางการเมือง รวมถึงการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ที่อาคารรัฐสภา เกียกกาย
Hunger Strike: การอดอาหารประท้วงจากประสบการณ์ในต่างแดน
อ่าน

Hunger Strike: การอดอาหารประท้วงจากประสบการณ์ในต่างแดน

การอดอาหารเป็นวิธีการแสดงออกอย่างสันติวิธีหนึ่งที่ถูกใช้โดยนักเคลื่อนไหวจากหลายๆประเทศเพื่อต่อต้านผู้มีอำนาจหรือเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างโดยใช้ร่างกายและสุขภาพของตัวผู้ประท้วงเป็นเดิมพัน ซึงข้อเรียกร้องของผู้อดอาหารจะได้รับการตอบสนองมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของแต่ละประเทศ    
สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม
อ่าน

สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม

พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ พ.ศ.2565 จะมีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2566 แต่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนังสือเสนอความเห็น ขอให้ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว เฉพาะหมวด 3 การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เหตุบุคลากร-งบประมาณยังไม่พร้อม
2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน  ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65
อ่าน

2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65

ประเด็นเด่นของคำพิพากษาที่ออกมาในปี 2565 คือเรื่องการตีความขอบเขตความคุ้มครองของมาตรา 112 ที่ยังขาดความชัดเจน เพราะคำพิพากษาที่ออกมามีทั้งที่ศาลตีความขยายขอบเขตไปคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในอดีต และตีความไปคุ้มครองถึง “สถาบัน” ซึ่งไม่ใช่ถ้อยคำที่ปรากฎอยู่ในตัวบท ขณะเดียวกันก็มีคำพิพากษาที่ศาลตีความเคร่งครัด