อ่าน

วงเสวนาชี้ ‘วิสามัญฆาตกรรม’ หวั่นคนตายฟรี-กระบวนการยุติธรรมไม่โปร่งใส

14 กรกฎาคม 2561 องค์กรสิทธิมนุษยชนและภาคประชาสังคมรวมตัวกันจัดงานเสวนา วิสามัญฆาตกรรมและปริศนาความยุติธรรมทางอาญาที่ยังไม่เกิด เพื่อถอดบทเรียนการวิสามัญฆาตกรรมของชัยภูมิ ป่าแส นักกิจกรรมเยาวชนชาติพันธุ์ลาหู่ และอะเบ แซ่หมู่ ชาวชาติพันธุ์ลีซู ที่ตายอย่างปริศนา รวมทั้งตั้งข้อสังเกตถึงกระบวนการยุติธรรมไทยที่ไม่สามารถคืนความเป็นธรรมให้ญาติได้อย่างแท้จริง
คุยกับ “ทนายน้อยๆ” ผู้เผชิญหน้ากับกระบวนการที่ “ศาลทหาร” ตัดสินคดีพลเรือน
อ่าน

คุยกับ “ทนายน้อยๆ” ผู้เผชิญหน้ากับกระบวนการที่ “ศาลทหาร” ตัดสินคดีพลเรือน

ไอลอว์จัดรายการ คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช. โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็นทนายอานนท์ นำภา ทนายที่ต้องต่อสู้คดีทางการเมืองให้ประชาชนที่ถูกจับไปขึ้นศาลทหาร จากการต่อต้านทหาร และผู้ผ่านประสบการณ์ต้องเป็นจำเลยในศาลทหารเอง
อ่าน

10 ข้อควรรู้เกี่ยวกับโทษประหารชีวิต ในกฎหมายไทย

ท่ามกลางบรรยากาศที่โทษประหารชีวิต ถูกนำกลับมาใช้ในทางปฏิบัติอีกครั้งในรอบเกือบสิบปี ทำให้สังคมไทยตื่นตัวถกเถียงกันเรื่องการประหารชีวิตกันอีกยกใหญ่ จึงชวนทำความรู้จักที่ทางของโทษประหารชีวิตในกฎหมายไทย เงื่อนไขและข้อยกเว้นในกรณีต่างๆ
เลื่อนไม่เลิก: การเลื่อนคดีของอัยการสร้างภาระที่เพิ่มขึ้นให้ผู้ต้องหา We Walk
อ่าน

เลื่อนไม่เลิก: การเลื่อนคดีของอัยการสร้างภาระที่เพิ่มขึ้นให้ผู้ต้องหา We Walk

5 มิถุนายน 2561 สำนักงานอัยการจังหวัดธัญบุรีแจ้งว่า ให้เลื่อนฟังคำสั่งว่าจะฟ้องคดีหรือไม่ฟ้องคดี ต่อแปดผู้ต้องหาจากการจัดกิจกรรม “We walk เดินมิตรภาพ” นับเป็นการเลื่อนฟังคำสั่งอัยการครั้งที่ห้าของคดีนี้ โดยนัดฟังคำสั่งอัยการอีกครั้ง ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2561
ตารางการใช้กฎหมายเล็กๆ น้อยๆ ดำเนินคดีกับผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมือง
อ่าน

ตารางการใช้กฎหมายเล็กๆ น้อยๆ ดำเนินคดีกับผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมือง

ในยุค คสช. การปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนถูกอ้างอิงและใช้อำนาจผ่าน “กฎหมาย” เพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐบาลทหาร ทั้งกฎหมายที่ออกใหม่ภายใต้รัฐบาล คสช. ทั้ง ประกาศและคำสั่งของ คสช. ก็ถูกหยิบมาใช้ แต่ไม่เพียงเท่านั้น การกระทำเล็กน้อยที่ไม่ได้มุ่งหวังลงโทษให้สาสม แต่มุ่งหวังสร้างความยุ่งยาก เพิ่มภาระให้กับการเคลื่อนไหว คสช. ก็เอากฎหมายที่มีโทษไม่ร้ายแรงมาบังคับใช้ รวมทั้งการหยิบเอากฎหมายเก่าๆ มาใช้อย่างไม่ถูกต้องตามเจตนารมณ์แต่สร้างบรรยากาศความกลัวขึ้นมาได้
ไม่ใช่แค่ SLAPP ปิดปาก แต่กลั่นแกล้งด้วยกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

ไม่ใช่แค่ SLAPP ปิดปาก แต่กลั่นแกล้งด้วยกระบวนการยุติธรรม

ในทางเสวนาเกี่ยวกับการฟ้องคดีปิดปาก หลายฝ่ายเห็นไปในทางเดียวกันว่า การปิดปากไม่ใช่แค่การ SLAPP แต่กระบวนการยุติธรรมทำให้คนที่ถูกฟ้องเดือดร้อน รู้สึกว่าเป็นภาระ เสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย กระบวนการยุติธรรมถูกใช้เป็นเครื่องมือต่อรอง อาจเรียกลักษณะแบบนี้ว่า Judicial Harassment
อ่าน

ปฏิรูปตำรวจยุค คสช. ‘นับหนึ่งไม่ถึงร้อย’

การปฏิรูปตำรวจเป็นโจทย์ใหญ่ที่รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยมีความพยายามจะแก้ไขมาโดยตลอด ไม่เว้นแม้กระทั่งรัฐบาลทหารอย่างคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
อ่าน

ศาลเสนอแก้ไขกฎหมาย ป.วิอาญา ป้องกัน ‘ประชาชนฟ้องแกล้งกัน’

17 เมษายน 2561 สุริยัณห์ หงษ์วิไล โฆษกศาลยุติธรรมออกมาเปิดเผยว่า สำนักงานศาลยุติธรรมมีการเสนอเเก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อป้องกันการใช้สิทธิฟ้องคดีอาญาโดยมีเจตนาไม่สุจริต โดยร่างกฎหมายดังกล่าวอยู่ในการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และจะส่งให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป
ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง
อ่าน

ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง

ข้อค้นพบจากงานเสวนาชี้ให้เห็นความสับสนในที่มา เมื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บอกว่า ไม่ต้องการโทษจำคุกสำหรับความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล แต่กรรมการร่างรัฐธรรมนูญกลับบอกว่า ไม่ได้เป็นคนใส่เพิ่มขึ้นมา ขณะกฎหมายที่ประกาศใช้กำหนดให้การวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดยไม่สุจริตมีโทษจำคุก 1 เดือน
14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน
อ่าน

14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน

วันที่ 12 มีนาคม 2561 มีการจัดงานครบรอบ 14 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในงานมีการวางดอกไม้รำลึกถึงทนายสมชาย โดยครอบครัว และมีเวทีเสวนาเรื่อง “พัฒนาการล่าสุดของ ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและบังคับสูญหาย”