ร่างพระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายด้านความมั่นคงที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพตามระบอบประชาธิปไตย
อ่าน

ร่างพระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายด้านความมั่นคงที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพตามระบอบประชาธิปไตย

ข้อเสนอให้ประชาชนช่วยกันยกเลิกกฎหมายที่ให้อำนาจกับเจ้าหน้าที่รัฐมากเป็นพิเศษ 3 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551
สมชาย ปรีชาศิลปกุล: กฎหมายความมั่นคงฯ ชุดกม.การก่อการร้ายของรัฐ
อ่าน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล: กฎหมายความมั่นคงฯ ชุดกม.การก่อการร้ายของรัฐ

อาจเรียกกฎหมายชุดนี้ว่ากฎหมายชุดความมั่นคง แต่ผมจะเสนอว่า นี่คือชุดกฎหมายการก่อการร้ายของรัฐ บนพื้นฐานความกลัวหรือเหตุความกลัวก็ได้
เกษม เพ็ญภินันท์ : ความไม่มั่นคงและความกลัวในบริบทของรัฐไทย
อ่าน

เกษม เพ็ญภินันท์ : ความไม่มั่นคงและความกลัวในบริบทของรัฐไทย

กฎหมายภายใต้รัฐไทยที่ไม่มีความแน่นอน มันเปิดโอกาสให้องค์อธิปัตย์ใช้อำนาจและเข้ามาจัดการและควบคุมคน ความไม่มั่นคงนี้ไม่ใช่ความไม่มั่นคงของสังคม แต่เป็นความไม่มั่นคงขององค์อธิปัตย์และตัว colonial state เอง
สรุปการเสวนา “อำนาจประชาชนพิชิตอำนาจรัฐ”
อ่าน

สรุปการเสวนา “อำนาจประชาชนพิชิตอำนาจรัฐ”

งานเสวนาสาธารณะครั้งแรกของไอลอว์ ได้มติเดินหน้ายกเลิกกฎหมายด้านความมั่นคง 3 ฉบับ คือ ความมั่นคง-กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ค้านออกกฎหมายคุมการชุมนุม
เก็บอาวุธทหาร: ยกเลิกกฎหมายความมั่นคง
อ่าน

เก็บอาวุธทหาร: ยกเลิกกฎหมายความมั่นคง

ช่วงที่มีการชุมนุมต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่ จะมีชื่อของ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และพ.ร.บ.ความมั่นคงฯ ซึ่งใช้มาแล้วครั้งแล้วครั้งเล่าให้อำนาจรัฐมากมาย สวนทางกับสิทธิเสรีภาพ
สัมภาษณ์ ‘ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์’: พ.ร.บ.ความมั่นคงฯ ‘ประเทศเรา’ ไม่มั่นคงตั้งแต่เมื่อไร?
อ่าน

สัมภาษณ์ ‘ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์’: พ.ร.บ.ความมั่นคงฯ ‘ประเทศเรา’ ไม่มั่นคงตั้งแต่เมื่อไร?

ในที่สุด พ.ร.บ.ความมั่นคง ก็การประกาศใช้ในพื้นที่ภูเก็ตในช่วงวันที่ 10-24 กรกฎาคม 2552 เพื่อรองรับการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน เมื่อรัฐบาลประกาศรักษาความมั่นคงฯ แล้วรัฐบาลมองเห็นใครเป็นศัตรู ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ ย้ำหลักการอีกครั้ง