‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง
อ่าน

‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง

เปิดที่มาโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลังศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อันมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นผู้อำนวยการศูนย์
รวมข้อกำหนด-ประกาศที่ออกตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯระหว่างโควิด 19
อ่าน

รวมข้อกำหนด-ประกาศที่ออกตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯระหว่างโควิด 19

วันที่ 25 มีนาคม 2563 นายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วประเทศ ตามมาด้วยข้อกำหนดและประกาศที่ออกตามความในมาตรา 9 ของพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หลายฉบับ เฉพาะของนายกรัฐมนตรีออกมาแล้ว 25 ฉบับ นอกจากนี้ยังมีประกาศของผู้บัญชาการทหารสูงสุดและประกาศท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ต่างๆ เนื้อหาในข้อกำหนดและประกาศต่างๆเป็นไปเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ส่วนหนึ่งมีการห้ามรวมตัว ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์และดุลพินิจของผู้มีอำนาจในการออกกฎหมาย
ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง
อ่าน

ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง

25 มีนาคม 2563 พลเอกประยุทธ์ อาศัยอำนาจตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายซ้ำซ้อนเพื่อควบคุมการชุมนุมก็กลับมาอีกครั้ง
‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19

25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือกำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย
10 อันดับเหตุการณ์เด่นรอบปี 2560
อ่าน

10 อันดับเหตุการณ์เด่นรอบปี 2560

ส่งท้ายปี 2560 “ไอลอว์” ขอจัด 10 อันดับเหตุการณ์เด่นที่เป็นหมุดหมายสำคัญและส่งผลกระทบต่อความเป็นไปทางสังคมการเมืองไทย นี่คือทุกเรื่องที่สำคัญกับทุกคน และเป็นบทเรียนให้เราเรียนรู้ร่วมกัน อย่างน้อยเพื่อให้ยังไม่ลืมกันง่ายๆ
กฎหมายห้ามชุมนุมในรัฐทหาร
อ่าน

กฎหมายห้ามชุมนุมในรัฐทหาร

หากยังมีใครเชื่อว่าพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ เป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองผู้ชุมนุมอยู่อีก เขาผู้นั้นก็คงจะหูหนวกและตาบอดสนิท เทียบไม่ได้กับชาวบ้านธรรมดา ๆ ที่มองเห็นโลกตามความเป็นจริงเสียยิ่งกว่า ดังเสียงของชาวบ้านคนหนึ่ง พูดเอาไว้ว่า “ก่อน คสช. ทำการรัฐประหาร  พวกนายทุนหรือบริษัทฟ้องคดีเรา  แต่พอหลัง คสช. รัฐประหาร  รัฐกลับเป็นผู้ฟ้องคดี
ถอดประสบการณ์ “คนนอก” ต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนใต้
อ่าน

ถอดประสบการณ์ “คนนอก” ต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนใต้

ในปี2547ความขัดแย้งในชายแดนใต้ปะทุขึ้น นับแต่นั้นมีความพยายามในการหาทางออกด้วยกลไกรัฐ บทบาทของภาคประชาสังคมและต่างๆอีกมากมาย จวบจนวันนี้เป็นเวลา 13 ปีแล้ว นำไปสู่การถอดบทเรียนและเสนอข้อมูล แนวทางในการส่งเสริมกระบวนการสันติภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของ “คนนอก” พื้นที่ความขัดแย้งในชายแดนใต้ 
รศ.ดร.อภิชาต ถามหาความรับผิดของกรรมการ หากยุทธศาสตร์ชาติล้มเหลว
อ่าน

รศ.ดร.อภิชาต ถามหาความรับผิดของกรรมการ หากยุทธศาสตร์ชาติล้มเหลว

รศ.ดร.อภิชาติ สถิตนิรามัย นักเศรษฐศาสตร์การเมือง อภิปรายว่า รัฐต้องส่งเสริมเศรษฐกิจที่มีนวัตกรรม และต้องมีมาตรการควบคุมเอกชนที่ได้รับการส่งเสริม พร้อมชี้ยุทธศาสตร์ชาติตอนนี้เป็นพียงพิมพ์เขียวของชนชั้นนำกลุ่มเล็กๆ รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งจะออกจากอุโมงค์นี้ได้ยาก
พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ “วางแผนความมั่นคงประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี”
อ่าน

พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ “วางแผนความมั่นคงประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี”

สนช.ผ่านร่าง พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ สาระสำคัญคือการเพิ่มนิยามคำว่า "ความมั่นคง" การเพิ่ม รมต.กระทรวงดิจิทัลและยุติธรรม เข้าไปในสภาความมั่นคงฯ และให้อำนาจหน้าที่ในการร่างนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคง ซึ่งต้องร่างตามกรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ของ คสช.