เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง
อ่าน

เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเลือก เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกฯ จากพรรคเพื่อไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165  เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ขาดประชุม 19 คน
สำรวจจักรวาล สสร. พรรคไหนเคยเสนอที่มาไว้อย่างไรบ้าง
อ่าน

สำรวจจักรวาล สสร. พรรคไหนเคยเสนอที่มาไว้อย่างไรบ้าง

รูปแบบของสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่เคยมีการพยายามนำเสนอเข้าสู่รัฐสภามาหลังการเลือกตั้งในปี 2562 มีทั้งสิ้นสี่รูปแบบ คือ สสร.ฉบับพรรคเพื่อไทย, สสร.ฉบับที่นำโดยพรรคพลังประชารัฐ, สสร.ฉบับพรรคไทยสร้างไทยที่ใช้วิธีรวบรวมรายชื่อประชาชนเสนอร่างรัฐธรรมนูญ และ สสร.ฉบับสงวนคำแปรญัตติของ ส.ส.จำนวนหนึ่ง ในช่วงพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญของ คณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หรือ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ     ข้อเสนอการตั้ง สสร. มักอยู่ที่วิธีการได้มา โดยแบ่งออกคร่าวๆ ได้สี่รูปแบบ คือ เลือกตั้งแบบมีจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เลือกตั้งแบบมีประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง เลือกตั้งผสมกับการแต่งตั้ง และแต่งตั้งทั้งหมด ซึ่งรูปแบบทั้งหมดนี้จะมีความสำคัญมากขึ้นเมื่อสังคมไทยกำลังเดินหน้าเข้าสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ในปี 2567 ที่กำลังมาถึง
Q&A ทุกคำถามในแคมเปญ #เขียนใหม่ทั้งฉบับเลือกตั้ง100เปอร์เซ็นต์!!!
อ่าน

Q&A ทุกคำถามในแคมเปญ #เขียนใหม่ทั้งฉบับเลือกตั้ง100เปอร์เซ็นต์!!!

เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2566 หลังภาคประชาชนเปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” ชวนประชาชนเข้าชื่อเสนอทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นขั้นแรกไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยประชาชน ตามกลไกของ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564  (พ.ร.บ.ประชามติ) ที่ต้องการรายชื่อของประชาชนผู้สนใจจะมีส่วนร่วมถึง 50,000 รายชื่อ ประชาชนจำนวนมากอาจจะสงสัยว่า ต้องทำอย่างไร หรือมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง   ไอลอว์จึงขอรวมคำถามที่พบได้บ่อยรวมไปถึงข้อมูลพื้นฐานสำคัญสำหรับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการช่วยกันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่เอาไว้ดังนี้
“เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” คำถามประชามติโดยประชาชน กระดุมเม็ดแรกสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

“เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” คำถามประชามติโดยประชาชน กระดุมเม็ดแรกสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

13 สิงหาคม 2566 เวลา 15.15 น. บริเวณลานหน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งประกอบด้วยหลายองค์กรที่ผลักดันประเด็นเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ จัดเวทีแถลงการณ์เปิดแคมเปญ  “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น   
เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%
อ่าน

เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ เปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อ ครม. ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น
เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ  ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?
อ่าน

เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?

เส้นทางของ “ประชาชน” ในการเป็นผู้ริเริ่มจัดทำ “ประชามติ” เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นั้นไม่ได้ยุ่งยากสลับซับซ้อนจนเกินไป แต่ระหว่างทางต้องเดินอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้กำกับดูแล ก่อนถึงมือคณะรัฐมนตรีที่จะเป็นผู้พิจารณาในด่านสุดท้าย
ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมประชาชนถึงต้องเสนอ “ประชามติ”
อ่าน

ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมประชาชนถึงต้องเสนอ “ประชามติ”

ประชามติเป็นขั้นแรกของการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ โดยประชาชนสามารถเป็นส่วนหนึ่งได้โดยการเข้าชื่ออย่างน้อย 50,000 คน เพื่อให้คณะรัฐมนตรีมีมติทำประชามติ การเข้าชื่อโดยประชาชนยังเป็นการมีส่วนร่วมในการ “กำหนดคำถามประชามติ” ว่าจะออกมาอย่างไร เพื่อรับรองว่าสสร. ที่มาจากประชาชนจะมีอำนาจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อย่างแท้จริง 
เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล
อ่าน

เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล

พรรคเพื่อไทยจับมือกับพรรคภูมิใจไทยออกแถลงการณ์ร่วมกันว่า จะเร่งแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยการประชุมคณะรัฐมนตรีในวาระแรกจะมีมติให้ทำประชามติขอจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอนการทำประชามติพิเศษเพิ่มเติมขึ้นมา เท่ากับว่าหากจะจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ให้สำเร็จ ต้องทำประชามติอย่างน้อย 3 ครั้ง
50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน
อ่าน

50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน

นี่เป็นครั้งแรกที่ประชาชนจะเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 รายชื่อ เพื่อเสนอคำถามในการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี ไม่มีความชัดเจนว่าการลงลายมือชื่อผ่านระบบออนไลน์สามารถทำได้หรือไม่ จึงจำเป็นที่ต้องพยายามช่วยกันรวบรวมรายชื่อประชาชนให้ได้ครบโดยการลงชื่อจริงๆ ด้วยปากกาในแบบฟอร์มกระดาษก่อนเพื่อความแน่นอน 
ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ
อ่าน

ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ

คำถามประชามติ คือสิ่งที่สำคัญในการกำหนดทิศทางการรณรงค์และลงคะแนนของประชาชนว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับคำถามนั้น ถ้าคำถามมีปัญหาก็อาจจะส่งผลต่อการลงคะแนนเสียงที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนหรืออาจทำให้การจัดประชามติไร้ความหมาย ดังนั้นคำถามจะถูกจัดการออกมาในรูปแบบไหนถึงมีความสำคัญไม่แพ้การออกเสียงประชามติ