ตรวจรายชื่อ #CONFORALL เสร็จกี่โมง? ภาคประชาชนทวงความคืบหน้า เร่งรัดกกต. ทำงานโดยเร็ว
อ่าน

ตรวจรายชื่อ #CONFORALL เสร็จกี่โมง? ภาคประชาชนทวงความคืบหน้า เร่งรัดกกต. ทำงานโดยเร็ว

14 กันยายน 2566 เวลา 14.00 น. ตัวแทนกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการตรวจสอบรายชื่อประชาชน 211,904 ชื่อ เสนอคำถามประชามติ #CONFORALL จากภาคประชาชนต่อสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) 
ส่องคะแนนเลือกตั้ง66 หน่วยค่ายทหาร-มหาวิทยาลัย ก้าวไกลครองแชมป์รายหน่วย
อ่าน

ส่องคะแนนเลือกตั้ง66 หน่วยค่ายทหาร-มหาวิทยาลัย ก้าวไกลครองแชมป์รายหน่วย

ชวนดูคะแนน “รายหน่วย” เฉพาะคะแนนจากระบบบัญชีรายชื่อที่สะท้อนความนิยมของพรรคการเมืองในพื้นที่หน่วยเลือกตั้งที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตมหาวิทยาลัยและอาณาเขตกองทัพว่าผลที่ออกมานั้นมีทิศทางเป็นอย่างไรในการเลือกตั้งปี 2566  
ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย
อ่าน

ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย

หลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 หากนับว่าเช้าวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 คือวันแรกของการรอคอยการจัดตั้งรัฐบาล วันนี้ วันที่ 1 กันยายน 2566 จะใช้เวลาทั้งสิ้น 109 วันจึงมีหนังสือพระบรมราชโอการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. ทำให้การเลือกตั้ง 2566 คว้าตำแหน่งอันดับหนึ่งของการรอรัฐบาลใหม่ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย   ในอดีตนั้น การเลือกตั้งที่ใช้เวลานานที่สุดเพื่อให้มีรัฐบาลใหม่ คือ การเลือกตั้งครั้งที่ 26 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้น 107 วัน จึงจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้น โดยในครั้งนั้นได้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี   การเลือกตั้งปี 2566 ขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งด้านความล่าช้าของการมีรัฐบาลมากกว่า “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” ของไทย ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 31 วัน รวมทั้งยังยิ่งชี้ให้เห็นว่า การเลือกตั้งที่คนไทยใช้เวลามากที่สุดกว่าจะมีรัฐบาลใหม่นั้น ต่างเกิดภายใต้กติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 ทั้งสิ้น
พลังประชาชน #CONFORALL 200,000+ รายชื่อ ถึงมือกกต.แล้ว!  ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

พลังประชาชน #CONFORALL 200,000+ รายชื่อ ถึงมือกกต.แล้ว! ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

รายชื่อเสนอคำถามประชามติ #CONFORALL จำนวน 211,904 รายชื่อ ส่งถึงกกต. นอกจากรวบรวมเอกสารที่ประชาชนลงชื่อบนกระดาษแล้ว ยังมีข้อมูลรูปแบบไฟล์ PDF สแกนรูปเอกสาร และ EXCEL บันทึกลงในแผ่น CD นำส่งกกต. 
เลื่อนวาระแซงหน้าไม่ได้!  ที่ประชุมสภามีมติไม่ให้เลื่อนวาระถกคำถามประชามติแก้รัฐธรรมนูญขึ้นมาพิจารณาก่อน
อ่าน

เลื่อนวาระแซงหน้าไม่ได้! ที่ประชุมสภามีมติไม่ให้เลื่อนวาระถกคำถามประชามติแก้รัฐธรรมนูญขึ้นมาพิจารณาก่อน

30 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร พริษฐ์ วัชรสินธุ สส.บัญชีรายชื่อพรรคก้าวไกล ปรึกษาหารือต่อที่ประชุมในการเปลี่ยนแปลงระเบียบวาระโดยขอให้ที่ประชุมสภาพิจารณาเรื่องการออกเสียงประชามติเพื่อสอบถามความเห็นของประชาชนต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาพิจารณาก่อน
ทีม #CONFORALL ยื่นหนังสือต่อพรรคเพื่อไทยให้รับคำถามประชาชนสู่ครม.
อ่าน

ทีม #CONFORALL ยื่นหนังสือต่อพรรคเพื่อไทยให้รับคำถามประชาชนสู่ครม.

#CONFORALL นำรายชื่อเสนอคำถามประชามติของประชาชนยื่นต่อพรรคเพื่อไทย แกนนำจัดตั้งรัฐบาล ขอให้พิจารณาโดยไม่คำนึงขั้นตอนทางธุรการของกกต.
เช็คชื่อ สว. ลงมติเลือก นายกฯ ทั้งสองครั้ง ใครเปลี่ยนใจ ใครเหมือนเดิม
อ่าน

เช็คชื่อ สว. ลงมติเลือก นายกฯ ทั้งสองครั้ง ใครเปลี่ยนใจ ใครเหมือนเดิม

การประชุมรัฐสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งที่สามเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2566 จบลงด้วยชัยชนะของ เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย ด้วยมติเห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165 เสียง และงดออกเสียง 81 เสียง จากทั้งรัฐสภา ทำให้ประเทศไทยเตรียมมีนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 หลังการเลือกตั้งมาแล้วกว่า 100 วัน   อย่างไรก็ตาม การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคก้าวไกล มีสาเหตุมาจากการที่สมาชิกวุฒิสภา สว. “งดออกเสียง” ภายใต้ข้ออ้างว่าเป็นการ “ปิดสวิตช์ตนเอง” มากถึง 159 เสียง ขณะที่ในการลงมติครั้งนี้มี สว. งดออกเสียงเพียง 68 เสียงเท่านั้น   เท่ากับว่า มี สว. จำนวนมากที่เปลี่ยนใจ หันมาโหวตเลือกเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีมากกว่าเลือกพิธา  
“ประชามติ” คืออะไร ทำไมประชาชนต้องมีส่วนร่วม
อ่าน

“ประชามติ” คืออะไร ทำไมประชาชนต้องมีส่วนร่วม

การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชนไม่ได้จบลงแค่ออกไปเลือกตั้ง อีกหนึ่งกลไกที่กฎหมายรับรองและกำหนดให้เป็นหน้าที่ของประชาชนคือ “การออกเสียงประชามติ” ซึ่งเป็นกระบวนการให้ประชาชนได้ตัดสินใจกำหนดทิศทางด้วยตนเองเฉพาะในประเด็นที่สำคัญ
เปิดจดหมายโต้แย้งกกต. ปี2566 ลงชื่อต้องออนไลน์ได้แล้ว
อ่าน

เปิดจดหมายโต้แย้งกกต. ปี2566 ลงชื่อต้องออนไลน์ได้แล้ว

ตามที่สำนักงานกกต. แจ้งปากเปล่าว่า การเข้าชื่อเสนอคำถามประชามติต้องทำบนกระดาษเท่านั้น ไม่สามารถลงชื่อออนไลน์ได้แต่ต้องกรอกข้อมูลเป็นไฟล์ดิจิทัลไปยื่นต่อกกต. iLaw จึงทำหนังสือโต้แย้งขอให้กกต. กลับคำวินิจฉัย เพราะปี 2566 เทคโนโลยีสามารถช่วยอำนวยความสะดวกได้ ไม่เป็นภาระกับประชาชนเกินไป
กกต. เพิ่งบอก เข้าชื่อออนไลน์ไม่ได้ 4 หมื่นชื่อตกน้ำทันที ขอประชาชนเร่งระดมเซ็นในกระดาษ
อ่าน

กกต. เพิ่งบอก เข้าชื่อออนไลน์ไม่ได้ 4 หมื่นชื่อตกน้ำทันที ขอประชาชนเร่งระดมเซ็นในกระดาษ

22 สิงหาคม 2566 รองเลขธิการสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ให้คำตอบตัวแทนกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญว่า ไม่สามารถใช้ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ในการเข้าชื่อเสนอคำถามตาม พ.ร.ป.ประชามติฯ ทำให้มากกว่า 4 หมื่นชื่ออาจไม่ถูกนับ   จากข้อจำกัดดังกล่าว ประชาชนไทยผู้มีสิทธิเลือกตั้งเหลือเวลาอีก 3 วัน ในการเข้าชื่อในกระดาษ ขอให้ทุกคนตามหาจุดลงชื่อจากเว็บไซต์ conforall.com ส่งรายชื่อให้ทัน และช่วยกันบอกต่อ จนกว่าเราจะได้รายชื่อแบบกระดาษทะลุ 50,000 รายชื่ออีกครั้ง