ถ้ายึดที่เพื่อไทยเคยประเมินไว้ รัฐธรรมนูญใหม่จะไม่เสร็จก่อนเลือกตั้ง’70
อ่าน

ถ้ายึดที่เพื่อไทยเคยประเมินไว้ รัฐธรรมนูญใหม่จะไม่เสร็จก่อนเลือกตั้ง’70

พรรคเพื่อไทยเคยประเมินว่า ขั้นตอนสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จะใช้เวลา “ไม่น้อยกว่า 3 ปี” แต่เวลาล่วงเข้าเดือนสิงหาคม 2567 แล้วยังไม่ได้เริ่มการทำประชามติหรือกระบวนการใดๆ จึงเห็นได้ว่า “รัฐธรรมนูญใหม่” ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ภายใต้รัฐบาลชุดนี้
สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ. ประชามติ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น”
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ. ประชามติ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น”

18 มิถุนายน 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ “สี่ฉบับ” ซึ่งมีสาระสำคัญคือการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564 (พ.ร.บ.ประชามติฯ) ในประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติ
จับตาประชุมสภา พิจารณาแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ให้ประชามติผ่านง่ายขึ้น
อ่าน

จับตาประชุมสภา พิจารณาแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ให้ประชามติผ่านง่ายขึ้น

18 มิถุนายน 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติสี่ฉบับ ซึ่งมีสาระสำคัญคือการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564 (พ.ร.บ.ประชามติฯ) ในประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ หาข้อยุติได้ยาก
เทียบร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ “ครม. vs เพื่อไทย vs ก้าวไกล” หวังเดินหน้ารัฐธรรมนูญใหม่ไม่ติดขัด
อ่าน

เทียบร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ “ครม. vs เพื่อไทย vs ก้าวไกล” หวังเดินหน้ารัฐธรรมนูญใหม่ไม่ติดขัด

วันที่ 18 มิถุนายน 2567 ร่างแก้ไข พ.ร.บ.ประชามติฯ ของพรรคก้าวไกล พรรคภูมิใจไทย พรรคเพื่อไทย และรัฐบาล เตรียมเข้าสภา
รัฐบาลเพื่อไทย ต้องมีอย่างน้อย 13.25 ล้านเสียง เพื่อผ่านประชามติ “คำถามติดล็อก”
อ่าน

รัฐบาลเพื่อไทย ต้องมีอย่างน้อย 13.25 ล้านเสียง เพื่อผ่านประชามติ “คำถามติดล็อก”

รัฐบาลเพื่อไทยให้ทำประชามติรัฐธรรมนูญ โดยคำถามที่มีเงื่อนไข ตามหลักเกณฑ์ของพ.ร.บ.ประชามติ จะผ่านได้ต้องอาศัย “เสียงข้างมากสองชั้น” ซึ่งเป็นงานที่ไม่ง่ายเลย
เศรษฐาแถลง ประชามติ 3 ครั้งสู่รัฐธรรมนูญใหม่ “ห้ามแตะหมวดทั่วไป-หมวดพระมหากษัตริย์” ย้ำพร้อมแก้ พ.ร.บ.ประชามติ
อ่าน

เศรษฐาแถลง ประชามติ 3 ครั้งสู่รัฐธรรมนูญใหม่ “ห้ามแตะหมวดทั่วไป-หมวดพระมหากษัตริย์” ย้ำพร้อมแก้ พ.ร.บ.ประชามติ

23 เมษายน 2567 เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ระบุว่ารัฐบาลมีความเห็นสอดคล้องกับข้อสรุปของคณะกรรมการประชามติ ที่เห็นว่าควรมีการทำประชามติสู่รัฐธรรมนูญใหม่ทั้งสิ้นสามครั้ง ไม่แตะหมวดทั่วไปและหมวดพระมหากษัตริย์ และเน้นย้ำว่าควรมีการแก้ไข พ.ร.บ. ประชามติ ควบคู่กันไปด้วย
ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน
อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

17 เมษายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเไม่รับคำร้องที่รัฐสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปัญหาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่า รัฐสภาจะมีอำนาจในการพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน
รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน
อ่าน

รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

29 มีนาคม 2567 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นชอบให้ส่งเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่าการเสนอแก้รัฐธรรมนูญเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) รัฐสภาจะมีอำนาจในการลงมติพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 233 เสียง ไม่เห็นด้วย 103 เสียง และงดออกเสียง 170 เสียง
5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่

17 มีนาคม 2567 านเสวนา “5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่” ชวนมองไปข้างหน้า เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีกระบวนการอย่างไร ประชาชนจะทำอะไรได้บ้าง รวมถึงการเลือก สว. ชุดใหม่
ทัศนีย์เล่าคดีจดหมายประชามติในยุคทหารครองเมืองไม่อนุญาตให้ ‘คิดต่าง’
อ่าน

ทัศนีย์เล่าคดีจดหมายประชามติในยุคทหารครองเมืองไม่อนุญาตให้ ‘คิดต่าง’

ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ อดีตสส. พรรคเพื่อไทย จังหวัดเชียงใหม่เล่าถึงประสบการณ์ความเป็น “เหยื่อ” ในคดีการเมืองช่วงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญในปี 2559 คดีนี้เป็นหนึ่งในตัวอย่างของการปราบปรามผู้ใช้เสรีภาพในการแสดงออกในยุคคสช. จนถึงปัจจุบันยังมีผู้ถูกดำเนินคดีการเมืองจำนวนมาก