เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักเมืองพัทยา องค์กรท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งที่สอง
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักเมืองพัทยา องค์กรท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งที่สอง

ชวนทำความรู้จักกับเมืองพัทยาก่อนหย่อนบัตรเลือกตั้ง เลือกผู้แทนเมืองในวันครบรอบ 8 ปีรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2565 นี้
ทำความรู้จักกับ ส.ก. สภานิติบัญญัติของ กทม. ที่ คสช. ครองมาเกือบ 8 ปี
อ่าน

ทำความรู้จักกับ ส.ก. สภานิติบัญญัติของ กทม. ที่ คสช. ครองมาเกือบ 8 ปี

22 พฤษภาคม 2565 ชาว กทม. จะได้เลือกสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) ซึ่งจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบพิเศษ
ทางแพร่งสู่เก้าอี้พ่อเมือง ทำไมต้องเป็นผู้ว่าฯ “อิสระ” หรือ “สังกัดพรรคการเมือง”?
อ่าน

ทางแพร่งสู่เก้าอี้พ่อเมือง ทำไมต้องเป็นผู้ว่าฯ “อิสระ” หรือ “สังกัดพรรคการเมือง”?

เริ่มต้นหาเสียงเลือกตั้ง “ผู้ว่ากทม.ฯ”“นายกเมืองพัทยา” และ สมาชิกสภาฯ เมื่อมีการรับสมัครและจับหมายเลขประจำตัวของผู้สมัครตั้งแต่ 31 มีนาคม 2565
ทำไมเลือกตั้ง กทม.จึงเป็นที่สนใจ? “เปิดงบ กทม. ที่ท้องถิ่นทั้งประเทศรวมกันก็สู้ไม่ได้”
อ่าน

ทำไมเลือกตั้ง กทม.จึงเป็นที่สนใจ? “เปิดงบ กทม. ที่ท้องถิ่นทั้งประเทศรวมกันก็สู้ไม่ได้”

ก่อนที่จะไปเข้าคูหาเลือกผู้ว่าฯ กทม. ชวนย้อนดูรายได้ของกรุงเทพมหานคร และเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้แก่กรุงเทพมหานคร 
ผู้ว่า กทม. – ส.ก. จากการแต่งตั้งจาก คสช. ถ้าอยากลงต่ออีกสมัย ต้องลาออกจากตำแหน่งก่อน 27 มี.ค.
อ่าน

ผู้ว่า กทม. – ส.ก. จากการแต่งตั้งจาก คสช. ถ้าอยากลงต่ออีกสมัย ต้องลาออกจากตำแหน่งก่อน 27 มี.ค.

ผู้ที่ คสช.แต่งตั้งให้ดำรงผู้บริหารท้องถิ่นต้องการจะลงสมัครในตำแหน่งผู้ว่ากทมฯ “ต้องลาออกจากตำแหน่งภายในสามวันนับแต่วันที่ประกาศวันเลือกตั้ง”
เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักกรุงเทพมหานคร และเตรียมตัวก่อนไปเลือกตั้ง 22 พฤษภาคม
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักกรุงเทพมหานคร และเตรียมตัวก่อนไปเลือกตั้ง 22 พฤษภาคม

วันที่ 8 มีนาคม 2565 คณะรัฐมนตรีก็มีมติปลดล็อกให้ผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษกลับมามีที่มาจากประชาชนอีกครั้ง
เลือกตั้งอบต. อย่าเพิ่งย้ายทะเบียนบ้าน  มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่ถึงหนึ่งปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้งท้องถิ่น
อ่าน

เลือกตั้งอบต. อย่าเพิ่งย้ายทะเบียนบ้าน มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่ถึงหนึ่งปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้งท้องถิ่น

16 สิงหาคม 2564 สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน (สผผ.) เผยแพร่คำวินิจฉัยผู้ตรวจการแผ่นดิน กรณีที่อัมรินทร์ สายจันทร์ และปราติหารย์ มีคุณ ยื่นคำร้องให้พิจารณาว่ามาตรา 38 (3) ของพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2562 ซึ่งกำหนดให้บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งท้องถิ่นจะต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับถึงวันเลือกตั้ง ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
หยุดอ้างประชามติ! เพราะพรรคที่เสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” มาจากประชาชน 23 ล้านเสียง
อ่าน

หยุดอ้างประชามติ! เพราะพรรคที่เสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” มาจากประชาชน 23 ล้านเสียง

ในศึกแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง หนึ่งในประเด็นหลักที่พรรคการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและพรรคฝ่ายค้านต่างอภิปรายตรงกัน คือ การยกเลิก มาตรา 272 ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีในช่วงห้าปีแรกของบทเฉพาะกาล แต่ทว่าประเด็นดังกล่าวก็นำไปสู่การลุกขึ้นประท้วงของฝ่าย ส.ว. อาทิ กิตติศักดิ์ รัตนวราหะ ยืนยันย้ำเตือนว่า อำนาจ ส.ว. มาจากการออกเสียงประชามติจาก “พี่น้องประชาชน 16 ล้านคน”
ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้
อ่าน

ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้

แม้ประเทศไทยจะเคยมีการทำประชามติมาแล้วหลายครั้ง แต่ก็ไม่เคยมีกฎหมายประชามติที่ใช้เป็นการทั่วไปมาก่อน ถ้าหากร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา จะเป็นกฎหมายที่รองรับการจัดทำประชามติเพื่อให้ประชาชนผู้เป็นเจ้าของประเทศมีส่วนร่วมตัดสินใจได้ และรัฐสภา-ประชาชน ก็สามารถเสนอเรื่องประชามติได้
ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ

ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ กำหนดว่าการผ่านประชามติร่างรัฐธรรมนูญจะต้องได้เสียงข้างมากสองชั้น ขณะที่หากเป็นประชามติในประเด็นอื่นๆ กำหนดให้ใช้เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติ ซึ่งการกำหนดเช่นนี้มีความเหมือนและต่างจากกฎหมายประชามติในอดีต