เลือกตั้ง 66: แก้ปัญหาถูกจุดแค่ไหน? เมื่ออดีตรองเลขาฯ กกต. ถูกชี้มูล ‘ผิดวินัยร้ายแรง’ จากกรณีส่งบัตรเลือกตั้งไม่ทันจนกลายเป็นบัตรเสีย
อ่าน

เลือกตั้ง 66: แก้ปัญหาถูกจุดแค่ไหน? เมื่ออดีตรองเลขาฯ กกต. ถูกชี้มูล ‘ผิดวินัยร้ายแรง’ จากกรณีส่งบัตรเลือกตั้งไม่ทันจนกลายเป็นบัตรเสีย

13 กุมภาพันธ์ 2566 นิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้แถลงข่าวว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด ณัฏฐ์ เล่าสีห์สวกุล อดีตเลขาธิการ กกต. กับพวกรวม 3 ราย ในความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการอันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง จากการละเว้นไม่ดำเนินการรับมอบและติดตามบัตรเลือกตั้งล่วงหน้าจนเป็นเหตุให้เสียหายแก่สำนักงานอย่างร้ายแรง
เลือกตั้งใช้เทคโนโลยีล้ำแค่ไหน ก็ไม่สำคัญเท่าเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม
อ่าน

เลือกตั้งใช้เทคโนโลยีล้ำแค่ไหน ก็ไม่สำคัญเท่าเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม

แม้การนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเลือกตั้งจะดูเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าตื่นเต้น แต่การจะนำเทคโนโลยีใดมาใช้จะต้องผ่านการคิดที่ถี่ถ้วนเสียก่อนว่าเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้จะรับประกันการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรมและประชาชนมีส่วนร่วมได้อย่างแท้จริงหรือไม่
รู้จัก Gerrymandering แค่แบ่งเขตก็กำหนดผลแพ้ชนะเลือกตั้งได้
อ่าน

รู้จัก Gerrymandering แค่แบ่งเขตก็กำหนดผลแพ้ชนะเลือกตั้งได้

ในการเลือกตั้ง การกำหนดว่าเขตเลือกตั้งหนึ่งจะตั้งอยู่ที่ไหนอาจจะมีความสำคัญมากไม่ต่างกับการออกไปใช้สิทธิหย่อนบัตร หากมีผู้จงใจออกแบบเขตเลือกตั้งใโดยไม่ได้สะท้อนความเป็นจริงของพื้นที่ ก็อาจจะทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเลือกตั้ง เราเรียกการแบ่งเขตเลือกตั้งที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างความได้เปรียบเสียเปรียบในการเลือกตั้งว่า Gerrymandering
‘บ้านใครบ้านมัน’ ช่วยกันดูและบอกกกต. ว่าจังหวัดของฉัน แบ่งเขตเลือกตั้งแบบไหนดี?
อ่าน

‘บ้านใครบ้านมัน’ ช่วยกันดูและบอกกกต. ว่าจังหวัดของฉัน แบ่งเขตเลือกตั้งแบบไหนดี?

กกต. แต่ละจังหวัด เปิดข้อมูลการแบ่งเขตสำหรับการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต ในปี 2566 และเปิดให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบ่งเขตได้ถึง 13 กุมภาพันธ์ 2566
เลือกตั้ง 66: กกต. ดีดเขตเลือกตั้งพิสดาร รวมคนไม่มีสัญชาติไทยเข้ามาด้วย! ทำ 6 จังหวัดมี ส.ส. เพิ่มขึ้นหรือลดลงกว่าที่ควรเป็น
อ่าน

เลือกตั้ง 66: กกต. ดีดเขตเลือกตั้งพิสดาร รวมคนไม่มีสัญชาติไทยเข้ามาด้วย! ทำ 6 จังหวัดมี ส.ส. เพิ่มขึ้นหรือลดลงกว่าที่ควรเป็น

หลังคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ประกาศจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด เพื่อเตรียมพร้อมรับการเลือกตั้ง 2566 พบว่า กกต. ได้นำนวนราษฎรที่ไม่ได้มีสัญชาติไทยมาคำนวณด้วย ทั้งนี้ เมื่อนำผลคำนวณจำนวน ส.ส. แบบที่ใช้จำนวนราษฎรเฉพาะที่มีสัญชาติมาเปรียบเทียบ พบว่า มีจำนวน ส.ส. อยู่ 6 จังหวัดที่เปลี่ยนแปลงไป
กกต.แจงวิธีคำนวณแบ่งเขตเลือกตั้ง หลังสมชัยท้วงนิยาม “จำนวนราษฎร”
อ่าน

กกต.แจงวิธีคำนวณแบ่งเขตเลือกตั้ง หลังสมชัยท้วงนิยาม “จำนวนราษฎร”

จากกรณีที่อดีตกกต.ตั้งคำถามถึงการแบ่งเขตเลือกตั้งจากการคำนวณราษฎรรวมบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยด้วยเป็นค่าฐานในการหาค่าเฉลี่ยจำนวนราษฎรต่อส.ส.หนึ่งคนกกต.ชี้แจงว่า นิยามจำนวนราษฎรถูกต้องโดยยกความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 1) กรณีอำเภอแม่สอด จังหวัดตากประกอบ
พรรคเล็ก/ใหม่ เร่งควบเร่งย้ายพรรค หนีตายระบบเลือกตั้งใหม่
อ่าน

พรรคเล็ก/ใหม่ เร่งควบเร่งย้ายพรรค หนีตายระบบเลือกตั้งใหม่

ปรากฏการณ์การควบรวมพรรคเป็นผลโดยตรงจากสูตรทางคณิตศาสตร์ที่เปลี่ยนไปในระบบเลือกตั้งใหม่ การแก้ไขรัฐธรรมนูญในปี 2565 เปลี่ยนให้ระบบเลือกตั้งกลับไปคิดที่นั่งบัญชีรายชื่อแบบคู่ขนาน (MMM) ทำให้การจะได้สักหนึ่งที่นั่งปาร์ตี้ลิสต์ต้องได้คะแนนเพิ่มขึ้นหลายเท่า จนเป็นเหตุให้พรรคเหล่านี้ต้องเร่งหนีตายกันยกใหญ่
รีวิว 5 ขั้นตอนง่ายๆ ย้ายทะเบียนบ้านกลางเข้าทะเบียนบ้านปกติ รักษาสิทธิเลือกตั้ง
อ่าน

รีวิว 5 ขั้นตอนง่ายๆ ย้ายทะเบียนบ้านกลางเข้าทะเบียนบ้านปกติ รักษาสิทธิเลือกตั้ง

คนที่มีชื่อใน "ทะเบียนบ้านกลาง" อาจไม่สามารถเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานบางประการ ได้รวมถึงสิทธิในการเลือกตั้ง ชวนดูวิธีย้ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านกลางง่ายๆ เพื่อเตรียมตัวให้พร้อมเข้าคูหา รักษาสิทธิเลือกตั้งกัน!
สำรวจสามเบี้ยบนกระดานเลือกตั้งของพรรคภูมิใจไทย
อ่าน

สำรวจสามเบี้ยบนกระดานเลือกตั้งของพรรคภูมิใจไทย

ตั้งแต่ปี 2562-2565 ภูมิใจไทยสามารถดึงตัว ส.ส.ที่ชนะการเลือกตั้งได้อย่างน้อย 51 คน โดยจะแบ่งได้สามรูปแบบคือ ส.ส.งูเห่าส้มจากพรรคอนาคตใหม่-ก้าวไกล ส.ส.สมัยแรกในกทม.จากพรรคพลังประชารัฐและที่น่าจับตาคือ เหล่าส.ส.ที่ยกขบวนบ้านใหญ่ท้องถิ่นมาด้วย
รีบเช็คด่วน! มีชื่อใน “ทะเบียนบ้านกลาง” เลือกตั้งไม่ได้ ต้องรีบย้ายเข้าทะเบียนบ้านปกติ
อ่าน

รีบเช็คด่วน! มีชื่อใน “ทะเบียนบ้านกลาง” เลือกตั้งไม่ได้ ต้องรีบย้ายเข้าทะเบียนบ้านปกติ

แม้การมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านดูจะเป็นเรื่องธรรมดาสามัญแต่ก็มีประชาชนจำนวนไม่น้อยที่ไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านปกติ แต่ไปมีชื่ออยู่ใน "ทะเบียนบ้านกลาง" ซึ่งพวกเขาจะไม่สามารถเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานบางประการ รวมถึงสิทธิในการเลือกตั้งด้วย