สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ
อ่าน

ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ

การแก้ไข พ.ร.บ.ประชามติ พ.ศ. 2564 กำลังเป็นอีกประเด็นที่สำคัญในการทำประชามติเพื่อให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ โดยเฉพาะการแก้ไขประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล้มเหลว
522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall
อ่าน

522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา iLaw ได้นำคำตอบจำนวน 522 คำตอบ ที่รวบรวมจากคำถามว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” ส่งมอบให้กับรองนายกรัฐมนตรี ภูมิธรรม เวชยชัย ในฐานะประธาน “คณะกรรมการประชามติฯ” เมื่อวันพุธที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยคำตอบทั้งหมดถูกแบ่งออกได้เป็นห้ากลุ่ม ดังนี้
ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ
อ่าน

ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา “คณะกรรมการประชามติฯ” ได้เชิญภาคประชาสังคมจำนวนมากไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งแบ่งออกได้เป็นสามกลุ่ม คือ ผู้สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ผู้สนับสนุนการห้ามแก้ไขหมวดหนึ่งและหมวดสอง และ กลุ่มอื่นๆ 
กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%
อ่าน

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) และเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (CALL) เข้าแลกเปลี่ยนข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 
“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย
อ่าน

“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย

ก่อนจะถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ชวนทบทวนความเคลื่อนไหวสำคัญของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ นับตั้งแต่หลังเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นมา
ชวนเขียนจดหมายถึงทำเนียบรัฐบาล #conforall
อ่าน

ชวนเขียนจดหมายถึงทำเนียบรัฐบาล #conforall

ชวนถามประชาชนผู้เป็นเจ้าของสิทธิเสียงร่วมกันเขียนข้อความฝากถึงคณะกรรมการประชามติฯ ผ่านเราว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรที่จะใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” เพื่อนำเสียงพี่น้องประชาชนทุกคนเข้าสู่ห้องประชุมของทำเนียบรัฐบาล
คำถามประชามติไม่ดี ระวังได้ “รัฐธรรมนูญเก่าในขวดใหม่”
อ่าน

คำถามประชามติไม่ดี ระวังได้ “รัฐธรรมนูญเก่าในขวดใหม่”

การทำประชามติครั้งแรกเพื่อถามประชาชนว่าอยากได้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่ ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนเพราะคำถามที่ไม่ดีอาจจะทำให้กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญทำได้อย่างไม่ราบรื่น หรือไม่เป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เลวร้ายที่สุด ก็อาจจะถึงขั้นแพ้ประชามติ และปิดประตูการมีรัฐธรรมนูญใหม่ไปอีกหลายปี
ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!
อ่าน

ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!

ชวนดูไทม์ไลน์การทำงานของกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ควบคู่กับการทำงานของกกต. ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า การรวบรวมรายชื่อของประชาชนทั้งระบบออนไลน์และระบบกระดาษสามารถทำได้ในเวลาเพียงสั้นๆ
กกต. แจ้ง ตรวจรายชื่อ #conforall เสร็จแล้ว ด่านต่อไป เลขาฯ ครม. ตรวจสอบและเอาเข้าที่ประชุม ครม.
อ่าน

กกต. แจ้ง ตรวจรายชื่อ #conforall เสร็จแล้ว ด่านต่อไป เลขาฯ ครม. ตรวจสอบและเอาเข้าที่ประชุม ครม.

20 กันยายน 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญได้รับหนังสือจากกกต. ว่าได้ดำเนินการตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอจัดทำประชามติเสร็จเรียบร้อยแล้ว หลังจากนี้ จะส่งเรื่องต่อไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อดำเนินการเพื่อให้ครม.มีมติเห็นชอบต่อไป