กมธ. พัฒนาการเมืองฯ นัดถกวันนอร์ รับบรรจุวาระแก้รัฐธรรมนูญเร่งเดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

กมธ. พัฒนาการเมืองฯ นัดถกวันนอร์ รับบรรจุวาระแก้รัฐธรรมนูญเร่งเดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กมธ.พัฒนาการเมืองฯ นัดถกประธานรัฐสภา ยืนยันไม่จำเป็นต้องทำประชามติก่อนแก้รัฐธรรมนูญ เสนอให้ประธานรัฐสภารับบรรจุวาระร่างแก้รัฐธรรมนูญ เพื่อเร่งเดินหน้าจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่
เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กระบวนการแก้ไขพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับกับการประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ส่อแววล่าช้าเมื่อ สว. ลงมติพลิกกลับมติ สส. ขอแก้ไขเนื้อหาร่าง ส่งผลให้กระบวนการพิจารณายืดออกไปอีก
เสียเวลาไปกับอะไร? ทำไมประชามติรัฐธรรมนูญใหม่ถึงไม่เกิด
อ่าน

เสียเวลาไปกับอะไร? ทำไมประชามติรัฐธรรมนูญใหม่ถึงไม่เกิด

กว่าหนึ่งปีของรัฐบาลเพื่อไทย สัญญาที่เคยให้ไว้ว่าจะจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ไม่เกิดขึ้น ประชามติก็ไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นคือกลไกมากมายที่ขยายเวลา จนมาถึงมือสว.
สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ
อ่าน

สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ

9 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไข ให้คงเกณฑ์เสียงข้างมากสองชั้นสำหรับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 0 เสียง ไม่เห็นชอบ 348 เสียง งดออกเสียง 65 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง กระบวนการหลังจากนี้คือสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต้องตั้งกรรมาธิการ (กมธ.) ร่วมกัน เพื่อพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ และส่งกลับให้ทั้งสองสภาลงมติอีกครั้งว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 
แก้เกม สว. เดินหน้าประชามติ 2 ครั้ง ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทัน ปี 2570
อ่าน

แก้เกม สว. เดินหน้าประชามติ 2 ครั้ง ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทัน ปี 2570

การแก้ไข ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ของ สว. นอกจากจะทำให้การทำประชามติผ่านความเห็นชอบของประชาชนได้ยากขึ้นและจะยังจะทำให้การทำประชามติครั้งแรกเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2568 เกิดขึ้นไม่ทัน จึงต้องกลับมาเริ่มต้นใหม่ที่ สส. อีกครั้ง และอาจจะใช้เวลานานถึงแปดเดือน
ConforAll ยื่นหนังสือประธานรัฐสภา เร่งบรรจุวาระร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ConforAll ยื่นหนังสือประธานรัฐสภา เร่งบรรจุวาระร่างรัฐธรรมนูญใหม่

วันนี้ (3 ตุลาคม 2567) เวลา 13.00 น. เครือข่ายภาคประชาชน ในนามกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ Con for All เข้ายื่นหนังสือต่อ คัมภีร์ ดิษฐากรณ์ โฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร และ วิสุทธิ์  ไชยณรุณ (วิปรัฐบาล) และ พริษฐ์ วัชรสินธุ (วิปฝ่ายค้าน) เพื่อเรียกร้องให้รัฐสภาเร่งดำเนินการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยเร็วที่สุด
สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ

30 กันยายน 2567 ที่ประชุม สว. มีมติเห็นชอบร่างแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ประชามติ ตามที่กรรมาธิการเสนอแก้ไข ด้วยคะแนนเห็นชอบ 167 เสียง ไม่เห็นชอบ 19 เสียง และงดออกเสียง 7 เสียง โดยเปลี่ยนเกณฑ์เสียงข้างมากธรรมดาที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบให้คงไว้ซึ่งเสียงข้างมากสองชั้นในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ
จาตุรนต์-ณัฐพงษ์-อังคณา ยันเดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สสร. ต้องเลือกตั้ง 100%
อ่าน

จาตุรนต์-ณัฐพงษ์-อังคณา ยันเดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สสร. ต้องเลือกตั้ง 100%

จาตุรนต์ สส. พรรคเพื่อไทย ณัฐพงษ์ สส. และหัวหน้าพรรคประชาชน อังคณา สว. ยืนยันเห็นด้วยกับภาคประชาชนว่า สสร. มาจากการเลือกตั้ง 100% จีรนุช รณรงค์ร่างรัฐธรรมนูญย้ำรัฐบาลต้องข้ามประชามติที่ไม่จำเป็นเพื่อเดินหน้ารัฐธรรมนูญใหม่โดยเร็ว
Conforall แถลงเรียกร้องรัฐบาล ทำประชามติ 2 ครั้ง – ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทันที
อ่าน

Conforall แถลงเรียกร้องรัฐบาล ทำประชามติ 2 ครั้ง – ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทันที

เครือข่ายประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ (Conforall) แถลงเรียกร้องรัฐบาล เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ให้เร็วทันก่อนเลือกตั้งครั้งหน้า ข้ามประชามติและสามารถเสนอแก้รัฐธรรมนูญเพื่อตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญได้เลย
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน เสียงข้างมากยืนยันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติ 2 ครั้งก็พอ
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน เสียงข้างมากยืนยันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติ 2 ครั้งก็พอ

เมื่อดูข้อกฎหมาย ประกอบกับคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการทั้งเก้าคน พบว่า ศาลรัฐธรรมนูญ “ไม่ได้บอก” ว่าต้องทำประชามติสามครั้ง แต่ยืนยันว่ากระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ต้องทำประชามติสองครั้ง คือ การทำประชามติก่อนเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ และทำประชามติหลังร่างรัฐธรรมนูญใหม่แล้วเสร็จ โดยในตุลาการเก้าคน เสียงข้างมากหกคนยืนยันชัดเจนว่าการทำประชามติตลอดกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สามารถทำได้เพียงสองครั้ง