ร่าง รธน. ‘มีชัย’: เพิ่มมาตรการพิเศษ ถ้าผ่านแล้วแก้ไขแทบไม่ได้
อ่าน

ร่าง รธน. ‘มีชัย’: เพิ่มมาตรการพิเศษ ถ้าผ่านแล้วแก้ไขแทบไม่ได้

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัยเขียนให้แก้ไขยากมาก จะแก้ไขได้ ส.ว. 1 ใน 3 ต้องลงมติเห็นชอบ และต้องมี ส.ส.ทุกพรรคลงมติเห็นชอบด้วย ในประเด็นหลักการใหญ่ รวมทั้งเรื่องคุณสมบัติไม่เคยทุจริตของนักการเมือง การแก้ไขต้องผ่านประชามติก่อน สุดท้ายยังอาจถูกร้องให้ศาลรัฐธรรมนูญคว่ำได้อีกชั้นหนึ่ง
จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’
อ่าน

จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’

ภายหลังที่มีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ “มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่นานกระแสวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญก็ทยอยออกมาไม่ว่าจะเป็นความเห็นจากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นักการเมือง พรรคการเมือง นักวิชาการ นักกฎหมาย และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เราได้ทำการรวบรวมความเห็นส่วนหนึ่งไว้เพื่อสะท้อนมุมมองของแต่ละฝ่ายว่ามีความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญอย่างไร
คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน
อ่าน

คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "มีชัย" เผยโฉม หนึ่งในประเด็นที่ต้องจับตาก็คือส่วนของบทเฉพาะกาลที่ได้ขยายระยะเวลาโรดแมปจากเดิมที่เป็นสูตร 6-4-6-4 เป็น 6-4-8-2-5 นั่นหมายความว่า ถ้าประชามติร่างรัฐธรรมนูญผ่าน ประชาชนต้องอยู่กับ คสช. ไปอีกอย่างน้อย 5 เดือน
เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ’59
อ่าน

เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ’59

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 ร่างแรกถูกเผยแพร่เรียบร้อย หากไม่เกิดอุบัติเหตุทางการเมือง เส้นทางของร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะจบลงที่การทำประชามติ ระยะเวลาประมาณห้าเดือนหลังจากนี้จึงเป็นช่วงเวลาสำคัญในการกำหนดทิศทางการออกเสียงประชามติ
สมบัติ บุญงามอนงค์: คสช.จะอยู่ยาก ถ้าประชามติไม่ผ่าน
อ่าน

สมบัติ บุญงามอนงค์: คสช.จะอยู่ยาก ถ้าประชามติไม่ผ่าน

เราพูดคุยกับ  สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ 'บก.ลายจุด' เพื่อให้เขาช่วยมองการทำงานของเว็บไซต์ประชามติ (prachamati.org) และสะท้อนภาพรวมของสังคมไทยปัจจุบัน นอกจากนี้เรายังชวนคุยถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่กำลังจะเกิดขึ้นกลางปีนี้ ว่าจะเอายังไงดี? 
บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์: รัฐธรรมนูญไม่ผ่าน ครั้งต่อไปต้องไม่เหมือนเดิม
อ่าน

บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์: รัฐธรรมนูญไม่ผ่าน ครั้งต่อไปต้องไม่เหมือนเดิม

เว็บไซต์ประชามติพูดคุยกับบัณฑูร เศรษฐศิโรจน์ อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ถึงสถานการณ์การมีส่วนร่วมของประชาชนบนโลกออนไลน์ ปี 2558 อนาคตของร่างรัฐธรรมนูญและการออกเสียงประชามติ รวมทั้งทางออกหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ต้องคว่ำไปอีกรอบ
ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข: เว็บไซต์ประชามติ=ภาคประชาชนที่นับได้
อ่าน

ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข: เว็บไซต์ประชามติ=ภาคประชาชนที่นับได้

สถานการณ์ทางการเมืองตลอดปี 2558 มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นและสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับสังคมไทย และการทำงานของเว็บไซต์ประชามติ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข หนึ่งในผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ จะมาสรุปบทเรียนในปีที่ผ่านมา และมองเป้าหมายการทำงานในอนาคตของเว็บไซต์
โตมร ศุขปรีชา – เรื่องสิทธิขาดพลัง ในสังคมที่ “อำนาจนิยม” เป็นใหญ่
อ่าน

โตมร ศุขปรีชา – เรื่องสิทธิขาดพลัง ในสังคมที่ “อำนาจนิยม” เป็นใหญ่

จากการทำงานมาเกือบหนึ่งปีของเว็บไซต์ประชามติพบว่า มีความคิดเห็นมากมายที่หลบซ่อนอยู่ในสังคม เราจึงขอให้โตมร ศุขปรีชา คอลัมนิสต์ และพิธีกรรายการ "วัฒนธรรมชุบแป้งทอด" หนึ่งในผู้เฝ้ามองสังคมไทย เป็นผู้วิเคราะห์สิ่งที่ซ่อนอยู่ในผลการโหวตของเว็บไซต์
จอน อึ๊งภากรณ์: เว็บประชามติเป็น “เวทีแสดงความเห็นในสังคมที่ถูกปิดกั้น”
อ่าน

จอน อึ๊งภากรณ์: เว็บประชามติเป็น “เวทีแสดงความเห็นในสังคมที่ถูกปิดกั้น”

“จอน อึ๊งภากรณ์” ผู้ผลักดันเว็บไซต์ประชามติได้ย้อนทบทวนการทำงานของเว็บไซต์ประชามติที่ผ่านมาว่ามีส่วนสร้างการมีส่วนร่วมในสังคมได้แค่ไหน และมองไปข้างหน้าว่าในปี 2559 นี้ที่รัฐบาลบอกว่าจะมีการทำประชามติจริงนั้น ทิศทางของเว็บประชามติจะเป็นอย่างไร