Browsing Category
มาตรา 116 (ยุยงปลุกปั่น)
42 posts
คุยกับณัฏฐิกา แอดมินเพจ “เรารักพลเอกประยุทธ์” ในวันที่เสรีภาพในการหัวเราะขาดตลาด
คุยกับณัฏฐิกาผู้ถูกกล่าวหาว่า ทำเฟซบุ๊กเพจที่มีเนื้อหาเข้าข่ายการยุยงปลุกปั่นตามมาตรา 116 ของประมวลกฎหมายอาญาและพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ร่วมกับผู้ต้องหารายอื่นรวมแปดคน
4 ปี คสช. เห็นแนวโน้มคดีการเมืองใช้เพียง “ขู่” ให้กลัว ไม่ได้มุ่งจับคนไปติดคุกนานๆ
ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 จนถึง 22 พฤษภาคม 2561 เป็นเวลาสี่ปีพอดีที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของ คสช. ซึ่งเป็นยุคสมัยที่มีการจับกุมและดำเนินคดีประชาชนจากการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองจำนวนมาก ผู้ใช้อำนาจรัฐยุคนี้ก็มีเครื่องมือทาง “กฎหมาย” หลายข้อด้วยกันให้เลือกหยิบมาใช้จำกัดสิทธิของประชาชนที่มีความเห็นต่างกับ คสช. ได้คสช.
ธันวาคม 2560: ‘หมวดเจี๊ยบ’ รับข้อหายุยงปลุกปั่นเป็นของขวัญปีใหม่/ ส.สิวลักษณ์เลื่อนไปฟังคำสั่งคดี 112 ต้นปี 61
ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกที่สำคัญประจำเดือนนี้ได้แก่การแจ้งข้อกล่าวหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ต่อร.ท.หญิงสุณิสาหรือ “หมวดเจี๊ยบ” อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทยจากกรณีโพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กวิจารณ์นายกรัฐมนตรีกรณีเปิดทำเนียบต้อนรับนักดนตรีที่อยู่ระหว่างการวิ่งระดมทุนให้โรงพยาบาล นอกจากนี้ก็มีกรณีที่เจ้าหน้าที่ประสานเจ้าของสถานที่ให้ยกเลิกการเช่าสถานที่จัดกิจกรรมสาธารณะอย่างน้อยสองกิจกรรม ได้แก่งานเลี้ยงปีใหม่ของกลุ่มคนเสื้อแดง และงานแสดงหมอรำระดมทุนเพื่อช่วยเหลือนักโทษของกลุ่มกิจกรรมแฟรีเทล สำหรับความเคลื่อนไหวคดีเสรีภาพอื่นๆที่น่าสนใจก็มีกรณีที่อัยการศาลทหารก
คุยกับ 3 จำเลยคดีป้ายผ้าแยกประเทศล้านนาในวันที่ถูกฟ้องรวด 3 คดีเพียงแค่ป้ายเหมือนกัน
ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม 2557 มีการติดป้ายผ้าไวนิลเขียนข้อความ”ประเทศนี้ไม่มีความเป็นธรรม กู ขอแยกเป็นประเทศล้านนา”
Section 116: When ‘Sedition’ is used as the obstruction of freedom of expression
Section 116 or what was called ‘Sedition’ is one of the legal measures that NCPO used against critics, journalists, activists.
กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
งานเสวนาหัวข้อ “มาตรา 116: ยุยงปลุกปั่น มั่นคงหรือมั่วนิ่ม” เพื่อสะท้อนถึงปัญหาการจำกัดการแสดงออก โดยเฉพาะการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในยุคคสช. ตามประวัติศาสตร์โลกกฎหมายนี้คือเครื่องมือปิดปากของรัฐ
ลำดับเหตุการณ์การสกัดกั้นเสรีภาพการแสดงออกกรณีคดีจำนำข้าว
ก่อนถึงวันพิพากษาคดีจำนำข้าวของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชวนไปเปิดข่าวย้อนดูกันว่าที่ผ่านมามีความเคลื่อนไหวที่จำกัดเสรีภาพการแสดงออกที่เกี่ยวข้องกับกรณีจำนำข้าวอย่างไรบ้าง
คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย
นักข่าวที่วิพากษ์วิจารณ์การรัฐประหารของคสช. ถูกตั้งข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ห้ากรรม จากโพสเฟซบุ๊ก ประวิตร โรจนพฤกษ์เล่าถึงความเชื่อมั่นต่อหลักเสรีภาพในการแสดงออกของเขา
A Conversation with Pravit Rojanaphruk about the Right to Converse – the NCPO is ‘camouflaging’ their repression.
A journalist who criticize the coup was finally charged 5 counts under Sedition from Facebook post. Pravit reveals his unwavering belief in freedom of expression.