คดีมาตรา 112 กำลังถูกเข็นให้ไปขึ้นศาลทหาร
อ่าน

คดีมาตรา 112 กำลังถูกเข็นให้ไปขึ้นศาลทหาร

คดีมาตรา 112 ที่เกี่ยวกับการโพสเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ตกำลังถูก “ตีความ” เพื่อให้ไปขึ้นศาลทหาร แม้การกระทำจะเกิดขึ้นก่อนการรัฐประหาร แต่เนื้อหายังปรากฏอยู่จึงถูกตีความว่าเป็นการกระทำต่อเนื่องมา
รายงานการปรากฏตัวของคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ หลังรัฐประหาร 2557
อ่าน

รายงานการปรากฏตัวของคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ หลังรัฐประหาร 2557

การหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์เป็นข้ออ้างที่นำมาสู่ความความขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมือง และยังเป็นเหตุผลหลักของการทำรัฐประหารเกือบทุกครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย หลังการรัฐประหารในปี 2549 และการปราบปรามการชุมนุมของเสื้อแดงในปี 2553 ตัวเลขคดีตามมาตรา 112 เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด แม้ในยุครัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตัวเลขจะไม่ได้พุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่คดีความที่ดำเนินอยู่แล้วก็เดินหน้าฟ้องร้องกันเรื่อยมา การรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 แม้คณะรัฐประหารจะไม่ได้อ้างเรื่องการหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์อย่างออกหน้าออกตาเหมือนเคย แต่ก็คาดหมาย
หลังประตูปิดลับ มีแค่ชายแก่หนึ่งคน กับความหวาดกลัวลมๆแล้งๆ เท่านั้น
อ่าน

หลังประตูปิดลับ มีแค่ชายแก่หนึ่งคน กับความหวาดกลัวลมๆแล้งๆ เท่านั้น

มีคดีมาตรา 112 ที่ไม่ค่อยโด่งดังนัก เป็นเรื่องราวของชายแก่ที่มีอาชีพขายหนังสือเร่ วันนึงไปเอาหนังสือต้องห้ามมาวางขาย จึงต้องเข้าสู่วังวนขึ้นโรงขึ้นศาล ด้วยความกลัวบางอย่างคดีนี้จึงพิจารณาแบบปิดลับ และหลายๆ อย่างก็ต้องลับตามมา
หลังประตูปิดลับ มีแค่ชายแก่หนึ่งคน กับความหวาดกลัวลมๆแล้งๆ เท่านั้น
อ่าน

หลังประตูปิดลับ มีแค่ชายแก่หนึ่งคน กับความหวาดกลัวลมๆแล้งๆ เท่านั้น

มีคดีมาตรา 112 ที่ไม่ค่อยโด่งดังนัก เป็นเรื่องราวของชายแก่ที่มีอาชีพขายหนังสือเร่ วันนึงไปเอาหนังสือต้องห้ามมาวางขาย จึงต้องเข้าสู่วังวนขึ้นโรงขึ้นศาล ด้วยความกลัวบางอย่างคดีนี้จึงพิจารณาแบบปิดลับ และหลายๆ อย่างก็ต้องลับตามมา
คดี 112 จากชั้นต้นถึงอุทธรณ์ กับการให้เหตุผลของศาลที่ต่างกัน
อ่าน

คดี 112 จากชั้นต้นถึงอุทธรณ์ กับการให้เหตุผลของศาลที่ต่างกัน

แน่นอนว่า การวินิจฉัยและพิพากษาคดีต้องมาจากพยานหลักฐานเป็นข้อมูลสำคัญ แต่ท้ายที่สุดแล้ว การตีความข้อเท็จจริงก็เป็นเรื่องอัตวิสัยที่ผู้พิพากษาอาจมีผิดถูกหรือคิดเห็นไม่ตรงกัน กระบวนการศาลยุติธรรมของไทยจึงออกแบบมาให้มี ศาลชั้นต้น – ศาลอุทธรณ์ – ศาลฎีกา เพราะดุลพินิจของผู้พิพากษาผู้พิจารณาคดีของแต่ละคนแต่ละคณะไม่เหมือนกัน
อัยการ-ศาล สร้างนิยามใหม่ ความผิดฐาน “พยายามหมิ่นกษัตริย์ฯ”
อ่าน

อัยการ-ศาล สร้างนิยามใหม่ ความผิดฐาน “พยายามหมิ่นกษัตริย์ฯ”

วันที่ 12 ธันวาคม 2556 ศาลอาญาอ่านคำพิพากษาในคดีที่นายกิตติธนถูกฟ้องว่า เป็นผู้ใช้นามแฝงว่า “เคนจิ” โพสต์ข้อความดูหมิ่น หมิ่นประมาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระราชินีลงในเว็บไซต์ dangddดอทcom หรือเว็บไซต์ internetfreedom โดยศาลตัดสินว่า การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
ยกฟ้องยุทธภูมิ กับสัปดาห์แห่ง “ใครก็ได้” ใช้มาตรา 112
อ่าน

ยกฟ้องยุทธภูมิ กับสัปดาห์แห่ง “ใครก็ได้” ใช้มาตรา 112

ระหว่างที่หลายฝ่ายเสนอแก้ม. 112 เพื่ออุดช่องโหว่ที่เปิดให้ “ใครก็ได้” มากล่าวหาดำเนินคดี เพื่อแก้ปัญหาคดีรกโรงรกศาลเหล่านี้ แต่กลับถูกตีขลุมว่าข้อเสนอนี้ไม่ปรารถนาดีต่อสถาบันกษัตริย์ฯ ในทางกลับกันก็ควรต้องพิจารณาด้วยว่าการที่ “ใครก็ได้” นำมาตรา 112 มาใช้กับความขัดแย้งส่วนตัวเช่นนี้เป็นการปรารถนาดีต่อสถาบันกษัตริย์ฯหรือไม่
คดีพี่ฟ้องน้อง อุทาหรณ์การรักษาความมั่นคงแบบไทย
อ่าน

คดีพี่ฟ้องน้อง อุทาหรณ์การรักษาความมั่นคงแบบไทย

นายยุทธภูมิ ถูกพี่ชายแท้ๆ ของตัวเองกล่าวหาว่าพูดจาสบถในบ้าน และเขียนข้อความลงบนซีดี ผิดมาตรา112 ฐานดูหมิ่นกษัตริย์ฯ พี่ชายแจ้งจับน้องจนติดคุกและต้องต่อสู้คดีในชั้นศาล ไม่ว่าเรื่องราวบทนี้จะลงเอยอย่างไรก็ล้วนเป็นอุทาหรณ์หลายประการให้แก่สังคมไทย