“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก
อ่าน

“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก

“กัลยา” พนักงานบริษัทเอกชนคนหนึ่งรู้ตัวอีกทีก็มีหมายเรียกไปถึงที่บ้านให้ต้องออกเดินทางไกลไปดินแดนใต้สุดของประเทศ เพราะมีคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อนไปแจ้งความต่อเธอไว้ที่นั่น
การกดปราบการพูดถึงประเด็นกฎหมายและพระราชอำนาจแวดล้อมสถาบันฯ ด้วยมาตรา 112
อ่าน

การกดปราบการพูดถึงประเด็นกฎหมายและพระราชอำนาจแวดล้อมสถาบันฯ ด้วยมาตรา 112

การปราศรัยของอานนท์ นำภา เมื่อ 3 สิงหาคม 2563 นำไปสู่ปรากฎการณ์ "รือเพดาน" ที่ประเด็นปัญหาแวดล้อมสถาบันพระมหากษัตริย์ถูกนำมาพูดในพื้นที่การชุมนุมอย่างเปิดเผย แต่นั่นก็แลกมาด้วยอิสรภาพของนักกิจกรรมหลายๆคน  
รวมข้อวิพากษ์วิจารณ์ที่ต่างชาติมีต่อมาตรา 112
อ่าน

รวมข้อวิพากษ์วิจารณ์ที่ต่างชาติมีต่อมาตรา 112

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” (lèse-majesté law) เป็นประเด็นหนึ่งที่ทำให้ประเทศไทยถูกวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งองค์กรระหว่างประเทศและประเทศอื่นอยู่บ่อยครั้ง นอกจากปัญหาในตัวเนื้อหาของกฎหมายเอง เช่น อัตราโทษที่สูงเกินไปจนไม่ได้สัดส่วนกับความผิดและการไม่มีอัตราโทษขั้นต่ำ ไปจนถึงการไม่มีคำนิยามที่แน่นอนของคำว่า “ดูหมิ่น” นอกจากนี้ มาตรา 112 ยังมีปัญหาในการบังคับใช้ที่ถูกตีความอย่างไร้ขอบเขต และยังไม่สอดคล้องกับหลักสากลที่วางไว้ในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพ
The royalists strike back: การโต้กลับของกลุ่ม “ปกป้อง” ท่ามกลางข้อเรียกร้อง “ปฏิรูปสถาบัน”
อ่าน

The royalists strike back: การโต้กลับของกลุ่ม “ปกป้อง” ท่ามกลางข้อเรียกร้อง “ปฏิรูปสถาบัน”

การที่ประชาชนทั่วไปเป็น “ผู้ริเริ่ม” กล่าวโทษให้ดำเนินคดีมาตรา 112 มากเกือบครึ่งของจำนวนคดีเท่าที่ยืนยันได้ ก็สะท้อนว่าปรากฎการณ์ “ทะลุเพดาน” ที่เกิดขึ้นสร้างความรู้สึก “ไม่มั่นคงปลอดภัย” ให้ประชาชนส่วนหนึ่งจนพวกเขาเหล่านั้นเลือกที่จะลุกขึ้นมาทำอะไรบางอย่าง  
บิ๊ก เกียรติชัย: สังคมที่อำนาจเท่าเทียมคือฝันอันสูงสุด
อ่าน

บิ๊ก เกียรติชัย: สังคมที่อำนาจเท่าเทียมคือฝันอันสูงสุด

เกียรติชัยหรือ “บิ๊ก” นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาชิกแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมปรากฎตัวที่ศาลหลังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมขอให้ศาลสั่งให้ลบภาพและข้อความบนทวิตเตอร์ที่เขาวิจารณ์การแต่งตัวของพระมหากษัตริย์
มาตรา 112 ใช้แตกต่างกันไปตามสถานการณ์การเมือง
อ่าน

มาตรา 112 ใช้แตกต่างกันไปตามสถานการณ์การเมือง

การเกิดขึ้นของคดีมาตรา 112 กลับดูจะมีความสัมพันธ์อยู่ไม่น้อยกับสถานการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ช่วงการรัฐประหาร 2549 เป็นต้นมา เมื่อสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองทวีความเข้มข้นหรือตึงเครียดขึ้น การชุมนุมประท้วง การแสดงความคิดเห็นในประเด็นสถาบันพระมหากษัตริย์ก็จะตามมา และนำมาซึ่งปริมาณคดีความ
รายงานการตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ (มาตรา112) ก่อนรัฐประหาร 2557
อ่าน

รายงานการตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ (มาตรา112) ก่อนรัฐประหาร 2557

รายชื่อผู้ถูกตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ก่อนรัฐประหาร 2557
หน้ากากขาว กูKult และชีวิตที่ยากจะถึงฝันของนรินทร์
อ่าน

หน้ากากขาว กูKult และชีวิตที่ยากจะถึงฝันของนรินทร์

คนที่มีโอกาสไปร่วมการชุมนุมตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม 2563 จนถึงต้นปี 2564 อาจเคยพบเห็นคนรูปร่างผอมที่ปรากฎกายในพื้นที่ชุมนุมด้วยเสื้อยืดสีขาว บนหน้าอกมีสัญลักษณ์คล้ายนมเปรี้ยวบรรจุขวดยี่ห้อหนึ่งแต่ตัวหนังสือเขียนคำว่า “กูKult” ซึ่งเป็นชื่อเพจเฟซบุ๊กเสียดสีการเมืองแทนยี่ห้อนมเปรี้ยวชื่อดัง และที่โดดเด่นกว่าเสื้อยืดคงจะหนีไม่พ้นใบหน้าของเขาที่ซ่อนอยู่ใต้หน้ากากสีขาวที่ครั้งหนึ่งเคยถูกมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่ชุมนุมร่วมกับกลุ่ม กปปส.
ผู้ต้องหามาตรา 112 มีสิทธิต่อสู้คดีเต็มที่หรือไม่?
อ่าน

ผู้ต้องหามาตรา 112 มีสิทธิต่อสู้คดีเต็มที่หรือไม่?

จากการติดตามสังเกตการณ์การดำเนินคดี ตั้งแต่ในชั้นจับกุมตัว การตั้งข้อกล่าวหา การสอบสวนโดยตำรวจ การพิจารณาคดีโดยอัยการ และการพิจารณาคดีโดยศาล พบว่าผู้ถูกกล่าวหาได้รับสิทธิตามที่กฎหมายระบุเอาไว้ ‘บ้าง’ แต่สิทธิหลายประการก็อยู่ในลักษณะ ‘ได้บ้างไม่ได้บ้าง’ ขึ้นอยู่กับลักษณะของคดีและบรรยากาศทางการเมืองแต่ละช่วงเวลา
ม.112 “ใครฟ้องก็ได้” หมายความว่าอะไร??
อ่าน

ม.112 “ใครฟ้องก็ได้” หมายความว่าอะไร??

มาตรา 112 เป็นข้อหาที่อยู่ในหมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์ฯ ซึ่งเป็น “ความผิดต่อแผ่นดิน” ความผิดในประเภทนี้คดีอาจริเริ่มขึ้นโดยใครก็ได้ที่พบเห็นการกระทำและนำเรื่องไปบอกกับตำรวจที่มีอำนาจหน้าที่ได้