ยกฟ้องข้อหามั่วสุม 10 คน-ทำร้ายตำรวจ 38 จำเลยคดี #ม็อบ28กุมภา
อ่าน

ยกฟ้องข้อหามั่วสุม 10 คน-ทำร้ายตำรวจ 38 จำเลยคดี #ม็อบ28กุมภา

30 มกราคม 2567 ศาลอาญาพิพากษายกฟ้องจำเลย 38 คน ในข้อหามั่วสุมตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป และข้อหาต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน จากการชุมนุม #ม็อบ28กุมภา ส่วนข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก ฉุกเฉินฯ ลงโทษปรับ
เลื่อนสืบพยานคดี #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร  นัดใหม่ 3-4 เม.ย. 67
อ่าน

เลื่อนสืบพยานคดี #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร นัดใหม่ 3-4 เม.ย. 67

10 มกราคม 2567 ศานัดสืบพยานโจทก์คดีชุมนุม “19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร” คดีนี้มีจำเลยทั้งหมด 22 คน มี 7 คนถูกดำเนินคดีมาตรา 112 เนื่องจากเป็นคดีที่มีอัตราโทษสูงและต้องการให้ศาลพิจารณาคดีโดยเปิดเผ จำเลยทั้ง 7 คนจึงไม่ขอพิจารณาคดีลับหลัง ส่วนจำเลยที่เหลือได้รับอนุญาตให้พิจารณาลับหลังได้
ยกฟ้อง ม.116 คดี 13 นักกิจกรรมชุมนุมปราศรัยวิจารณ์คสช. หน้าสน.ปทุมวัน ปี 58
อ่าน

ยกฟ้อง ม.116 คดี 13 นักกิจกรรมชุมนุมปราศรัยวิจารณ์คสช. หน้าสน.ปทุมวัน ปี 58

18 ธันวาคม 2566 เวลา 10.00 น. ห้อง 405 ชั้น 4 ศาลอาญากรุงเทพใต้ มีนัดอ่านคำพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116 ข้อหายุยงปลุกปั่นให้เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร ของอดีตนักกิจกรรมและนักศึกษาจากกลุ่มดาวดินและขบวนการประชาธิปไตยใหม่ (NDM) จำนวน 13 ราย ซึ่งถูกดำเนินคดีสืบเนื่องจากการชุมนุมปราศรัยวิพากษ์วิจารณ์คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่หน้า สน.ปทุมวัน เมื่อ 24 มิถุนายน 2558
3ปี ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน: อยุติธรรม ความรุนแรง และการลอยนวล
อ่าน

3ปี ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน: อยุติธรรม ความรุนแรง และการลอยนวล

ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดงานครบรอบสามปี สรุปงานคดีที่ฟ้องกลับและใช้กลไกอื่นๆในการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมรวม 58 คดี ในคดีที่ฟ้องร้องเพิกถอนประกาศหรือคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ แทบทั้งหมดศาลยกฟ้องให้น้ำหนักการรับฟังพยานฝ่ายรัฐมาก
รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว
อ่าน

รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว

30 ตุลาคม 2566 ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดเบนจา อะปัญ อดีตนักกิจกรรมแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112  ที่เธอถูกกล่าวหาว่าปราศรัยและอ่านแถลงการณ์แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฉบับที่สอง เรื่อง นายทุน-ขุนศึก-ศักดินา และการเมืองหลังระบบประยุทธ์ ระหว่างคาร์ม็อบวันที่ 10 สิงหาคม 2564 โดยที่เนื้อหาบางตอนของแถลงการณ์พาดพิงและก่อให้เกิดความเสียหายกับพระมหากษัตริย์ โดยศาลพิพากษาว่าเบนจามีความผิด ให้ลงโทษจำคุกในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นเวลา 3 ปี และในความผิดฐานร่วมการชุมนุมฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำคุก 1 ปี กับปรับ 12,000 บาท  เนื่องจากเบนจาให้การเป็นปร
ศาลตัดสิน 3 นักกิจกรรมผิดฐานปราศรัยดูหมิ่นศาล รอลงโทษ 2 คน จำคุก 1 คน
อ่าน

ศาลตัดสิน 3 นักกิจกรรมผิดฐานปราศรัยดูหมิ่นศาล รอลงโทษ 2 คน จำคุก 1 คน

17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัดสามนักกิจกรรม ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีที่ทั้งสามถูกกล่าวหาในความผิดดูหมิ่นศาล จากกรณีร่วมการชุมนุมและปราศรัยใน #ม็อบ30เมษา ที่หน้าศาลอาญาเพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับพริษฐ์ ชิวารักษ์หรือเพนกวิน นอกจากความผิดฐานดูหมิ่นศาลแล้วทั้งสามยังถูกกล่าวหาในความผิดอื่น รวมทั้งข้อหาฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อหาใช้เครื่องเสียงโดยไม่ได้รับอนุญาต และข้อหามั่วสุมกันตั้งแต่สิบคนก่อความวุ่นวาย โดยศาลอาญามีคำพิพากษาว่าจำเลยทั้งสามคนทำความผิดฐานดูหมิ่นศาล ส่วนความผิดฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และความผิ
Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
รวมคดีประชาชนสู้กลับ ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด ‘ห้ามชุมนุม’ ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

รวมคดีประชาชนสู้กลับ ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด ‘ห้ามชุมนุม’ ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

เครือข่าย People Go ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” อ้างจำกัดสิทธิเสรีภาพจนเกินสมควรแก่เหตุ   คำขอ : เพิกถอนการขยายเวลาประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และเพิกถอนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 1
กลไกศาลในการตรวจสอบอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังต่ำเกณฑ์ เปิดช่องโหว่การใช้กำลังขัดหลักสากล
อ่าน

กลไกศาลในการตรวจสอบอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังต่ำเกณฑ์ เปิดช่องโหว่การใช้กำลังขัดหลักสากล

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 13.30 น. ไอลอว์จัดเสวนาเนื่องในวันครบรอบหนึ่งปีที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชายกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ออกตามความพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยมีผู้แลกเปลี่ยนทั้งผู้ที่ถูกดำเนินคดี (อ่านเพิ่มเติม) ทนายความและอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายอย่างพัขร์ นิยมศิลป์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรดาคดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำนวนมาก พัชร์เป็นพยานทีไปให้ความเห็นในฐานะผู้เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า 40 คดี ชวนอ่านประสบการณ์การเป็นพยานในคดีและมุมมองทางกฎหมายของพัชร์