ข้อคิดเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ในสายตานักกฎหมายและภาคประชาชน
อ่าน

ข้อคิดเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ในสายตานักกฎหมายและภาคประชาชน

วันนี้ (24 มีนาคม 2558) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนและภาคประชาชนมากกว่า 20 องค์กร เดินทางไปยื่นข้อเสนอและคัดค้าน ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ กับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ สร้างเงื่อนไขในการจำกัดเสรีภาพในการชุมนุม การตัดอำนาจศาลปกครอง เรื่องการรับผิดร่วมระหว่างผู้ชุมนุมและผู้จัดการชุมนุม เป็นต้น
สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
อ่าน

สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนช. ร่างกฎหมายนี้อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหลายกลุ่มที่จำเป็นต้องใช้การชุมนุมเป็นช่องทางในการเรียกร้องความเป็นธรรม เราสำรวจความเห็นของภาคประชาสังคมที่ใช้ช่องทางนี้เป็นประจำว่าเขาคิดเห็นอย่างไรกับร่างกฎหมายฉบับนี้    
ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้

ปี 2557 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ขุดเอาร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ มาเสนออีกครั้ง กำหนดหน้าที่ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งล่วงหน้า กำหนดหน้าที่ตำรวจคอยอำนวยความสะดวก และกำหนดขั้นตอนกรณีต้องสลายการชุมนุมที่ไม่สงบและปราศจากอาวุธ
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม
อ่าน

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม

ผศ.ดร.จันทจิรา เอี่ยมมยุรา นิติศาสตร์ มธ.ชี้ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสภาพสร้างความเดือดร้อนหรือรบกวนเสรีภาพของคนอื่นอยู่แล้ว แต่แม้จะใช้เครื่องขยายเสียง หรือทำให้คนที่อยู่อาศัยใกล้ๆ เดือดร้อนก็ยังเป็นการชุมนุมโดยสงบ มีดหรือปืนถ้ามีไม่มากก็อาจถือว่าปราศจากอาวุธ
เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย
อ่าน

เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย

เสวนา “ก้าวต่อไปเสรีภาพในการชุมนุม มองผ่านคำพิพากษา” สมชาย ปรีชาฯชี้ ศาลไม่คงเส่นคงวา สังคมต้องช่วยกันให้ความหมายเสรีภาพ กิตติศักดิ์ชี้ มหาลัยบกพร่องที่ไม่สอนเรื่องรัฐธรรมนูญ ทนายชี้ศาลไม่รับฟังเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
จาก “ชุมนุม”  สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”
อ่าน

จาก “ชุมนุม” สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”

“การชุมนุม” เป็นสิทธิการแสดงออกที่รัฐธรรมนูญไทยรับรองไว้ และเป็นปฏิบัติการสำคัญของการเมืองภาคประชาชน เพื่อให้ข้อเรียกร้องของกลุ่มตนให้ได้รับความสนใจ ที่ผ่านมามีความพยายามจัดการดูแลการชุมนุมโดยเสนอให้ตรากฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะขึ้นมาเป็นการเฉพาะแต่ยังไม่สำเร็จ อย่างไรก็ดี เวลานี้มีคดีอันสืบเนื่องมาจากการใช้เสรีภาพในการชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองหลายคดี และคำพิพากษาของศาลในคดีเหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อการชุมนุมเรียกร้องกันในอนาคต  
คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายเห็นพ้อง คว่ำร่างกม.ชุมนุม
อ่าน

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายเห็นพ้อง คว่ำร่างกม.ชุมนุม

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ได้มติจากภาคประชาชน คว่ำกฎหมายชุมนุมสาธารณะ เตรียมเสนอรัฐบาลใหม่ปัดทิ้งในวันแถลงนโยบาย
ประชาชนกว่า 200 รวมตัว ให้สภาผู้แทนถอนร่างชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

ประชาชนกว่า 200 รวมตัว ให้สภาผู้แทนถอนร่างชุมนุมสาธารณะ

ร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ ถูกบรรจุเป็นวาระด่วนเพื่อรอให้สภาผู้แทนฯ โหวต ศูนย์ประสานงานเครือข่ายประชาชนเรียกร้องถอนร่างออกจากการพิจารณา
นักกฎหมายค้าน พ.ร.บ.ชุมนุม จ่อคิวในสภา
อ่าน

นักกฎหมายค้าน พ.ร.บ.ชุมนุม จ่อคิวในสภา

องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน ออกแถลงการณ์คัดค้านร่างกฎหมายชุมนุมสาธารณะ ที่เตรียมเข้าสภา 9 มีนาคมนี้ ระบุบังคับใช้ไม่ได้ ขัดรัฐธรรมนูญ
บริบทสังคมไทยไม่เหมาะกับกฎหมายชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

บริบทสังคมไทยไม่เหมาะกับกฎหมายชุมนุมสาธารณะ

จุลศักดิ์ แก้วกาญจน์ นักกฎหมายสิทธิรุ่นใหม่ วิพากษ์ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ พร้อมตั้งประเด็นต้องทำความเข้าใจ ทำความตกลงทางสังคมร่วมกันก่อน