กฎหมายการชุมนุมสาธารณะกับการปกป้องชุมชน
อ่าน

กฎหมายการชุมนุมสาธารณะกับการปกป้องชุมชน

พ.ร.บ.ชุมนุมฯ เป็นกฎหมายใหม่ที่บัญญัติเงื่อนไขในการชุมนุมของประชาชนที่ควรจะมุ่งคุ้มครองต่อเสรีภาพการชุมนุมของประชาชน แต่กลายเป็นการสร้างภาระและหน่วงเหนี่ยวการใช้เสรีภาพของประชาชน ทั้งตัวบทกฎหมายยังปรากฏช่องโหว่ที่นำไปสู่การเอาผิดผู้ใช้เสรีภาพได้โดยง่าย นำไปสู่การพูดคุยเพื่อหาทางออกของการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี
อ่าน

พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฯ ไม่แจ้ง-ไม่เชื่อฟัง เตรียมโดนข้อหา

ภายใต้กฎหมาย พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจให้ทราบล่วงหน้า 24 ชั่วโมง ก่อนการชุมนุม อีกทั้งห้ามชุมนุมในบางพื้นที่และมีข้อควรระวังระหว่างการชุมนุม มิเช่นนั้นจะถือว่า เป็นการชุมนุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และเจ้าหน้าที่สามารถเข้าสลายพร้อมทั้งจับกุมดำเนินคดีได้ทันที ทำให้ที่ผ่านมามีหลายกรณีที่ประชาชนพยายามจะใช้สิทธิตามกฎหมาย แต่ก็ถูกเจ้าหน้าที่เข้ามาแทรกแซงการชุมนุม รวมถึงถ้าไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ก็มีสิทธิถูกเจ้าหน้าที่รวบรัดขั้นตอนจับกุมตั้งข้อหาอีกต่างหาก
ปรากฏการณ์ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ “ขู่” ประชาชนห้ามชุมนุมทุกประเภท
อ่าน

ปรากฏการณ์ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ “ขู่” ประชาชนห้ามชุมนุมทุกประเภท

พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะเริ่มใช้จริงได้ไม่นาน ก็บันทึกปรากฏการณ์ได้หลายต่อหลายครั้ง ที่ทั้งตำรวจ ทหาร และผู้นำระดับบิ๊กเนม อ้าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ เพื่อให้ประชาชนเลิกชุมนุมหรือไม่กล้าทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งในเรื่องการเมือง เรื่องปากท้อง เรื่องสิ่งแวดล้อม และเรื่องอื่นๆ
ข้อคิดเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ในสายตานักกฎหมายและภาคประชาชน
อ่าน

ข้อคิดเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ในสายตานักกฎหมายและภาคประชาชน

วันนี้ (24 มีนาคม 2558) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนและภาคประชาชนมากกว่า 20 องค์กร เดินทางไปยื่นข้อเสนอและคัดค้าน ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ กับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ สร้างเงื่อนไขในการจำกัดเสรีภาพในการชุมนุม การตัดอำนาจศาลปกครอง เรื่องการรับผิดร่วมระหว่างผู้ชุมนุมและผู้จัดการชุมนุม เป็นต้น
สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
อ่าน

สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนช. ร่างกฎหมายนี้อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหลายกลุ่มที่จำเป็นต้องใช้การชุมนุมเป็นช่องทางในการเรียกร้องความเป็นธรรม เราสำรวจความเห็นของภาคประชาสังคมที่ใช้ช่องทางนี้เป็นประจำว่าเขาคิดเห็นอย่างไรกับร่างกฎหมายฉบับนี้    
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม
อ่าน

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม

ผศ.ดร.จันทจิรา เอี่ยมมยุรา นิติศาสตร์ มธ.ชี้ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสภาพสร้างความเดือดร้อนหรือรบกวนเสรีภาพของคนอื่นอยู่แล้ว แต่แม้จะใช้เครื่องขยายเสียง หรือทำให้คนที่อยู่อาศัยใกล้ๆ เดือดร้อนก็ยังเป็นการชุมนุมโดยสงบ มีดหรือปืนถ้ามีไม่มากก็อาจถือว่าปราศจากอาวุธ
เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย
อ่าน

เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย

เสวนา “ก้าวต่อไปเสรีภาพในการชุมนุม มองผ่านคำพิพากษา” สมชาย ปรีชาฯชี้ ศาลไม่คงเส่นคงวา สังคมต้องช่วยกันให้ความหมายเสรีภาพ กิตติศักดิ์ชี้ มหาลัยบกพร่องที่ไม่สอนเรื่องรัฐธรรมนูญ ทนายชี้ศาลไม่รับฟังเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
จาก “ชุมนุม”  สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”
อ่าน

จาก “ชุมนุม” สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”

“การชุมนุม” เป็นสิทธิการแสดงออกที่รัฐธรรมนูญไทยรับรองไว้ และเป็นปฏิบัติการสำคัญของการเมืองภาคประชาชน เพื่อให้ข้อเรียกร้องของกลุ่มตนให้ได้รับความสนใจ ที่ผ่านมามีความพยายามจัดการดูแลการชุมนุมโดยเสนอให้ตรากฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะขึ้นมาเป็นการเฉพาะแต่ยังไม่สำเร็จ อย่างไรก็ดี เวลานี้มีคดีอันสืบเนื่องมาจากการใช้เสรีภาพในการชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองหลายคดี และคำพิพากษาของศาลในคดีเหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อการชุมนุมเรียกร้องกันในอนาคต  
คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายเห็นพ้อง คว่ำร่างกม.ชุมนุม
อ่าน

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายเห็นพ้อง คว่ำร่างกม.ชุมนุม

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ได้มติจากภาคประชาชน คว่ำกฎหมายชุมนุมสาธารณะ เตรียมเสนอรัฐบาลใหม่ปัดทิ้งในวันแถลงนโยบาย