“ปฏิบัติการตบปากด้วยกฎหมาย” เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ
อ่าน

“ปฏิบัติการตบปากด้วยกฎหมาย” เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ

"การตบ" เป็นการกระทำแบบหนึ่งที่เราอาจจะพบเห็นได้ในหนัง ละคร หรือแม้แต่ชีวิตจริง แต่ทว่ายังมีการตบบางประเภทที่รุนแรงกว่าการทำร้ายเนื้อตัวร่างกายและอาจจะต้องใช้สายตาสังเกตให้ลึกกว่าปกติ นั่นก็คือ สแลป (SLAPP) หรือการตบปากด้วยกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ
ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่ง กกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ
อ่าน

ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่ง กกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ

ศาลปกครองสูงสุดสั่งไม่รับฟ้อง คดีที่ไอลอว์และภาคประชาสังคมฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศห้ามแสดงความเห็นของ กกต. ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง ไอลอว์รับผลออกมาเช่นนี้เพราะเทคนิคทางกฎหมาย แต่พร้อมทำกิจกรรมต่อเพื่อยืนยันเสรีภาพการแสดงออก
ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก

อีก 43 วัน ก็จะถึงวันออกเสียงประชามติ แต่มันจะเป็นประชามติแบบไหน มันจะเป็นประชามติที่รัฐพร้อมจะเปิดใจฟังเสียงคัดค้านต่อเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ และเปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้ถกเถียงเพื่อทำความเข้าใจผลของการลงประชามติอย่างแท้จริงหรือไม่ หรือสุดท้ายจะเป็นเพียงพิธีกรรมที่รัฐเป็นผู้ควบคุมด้วยกฎหมายและความกลัว
วันแห่งความ “ลัก” ที่แสนยาวนาน
อ่าน

วันแห่งความ “ลัก” ที่แสนยาวนาน

14 กุมภาพันธ์ คือวันที่คนมีเจ้าของหลายคน จะกันตัวเองจากภารกิจทั้งปวง เพื่อให้เวลากับคนพิเศษ แต่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 มีความแตกต่างไป เมื่อนักศึกษา นักกิจกรรมทางสังคมและประชาชนจำนวนหนึ่ง เลือกมา “เดท” กับ “การเลือกตั้ง” ในกิจกรรม “เลือกตั้งที่(รัก)ลัก” ซึ่ง กลุ่ม “พลเมืองโต้กลับ” จัดขึ้นที่หน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อรำลึกถึงการเลือกตั้งที่ถูกลัก (ขโมย
การชุมนุมของคนงานไทย/กัมพูชา : เสรีภาพที่เต็มไปด้วยขวากหนาม
อ่าน

การชุมนุมของคนงานไทย/กัมพูชา : เสรีภาพที่เต็มไปด้วยขวากหนาม

สำหรับคนงาน เสรีภาพในการชุมนุมเป็นช่องทางสำคัญที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ เพราะการชุมนุมจะสร้างพลังต่อรองให้มากขึ้นดีกว่าเรียกร้องลำพังคนเดียว ทว่าในทางปฏิบัติ ทั้งไทยและกัมพูชามีบทเรียนคล้ายๆ กัน คือ การใช้เสรีภาพในการชุมนุมของคนงานเต็มไปด้วยความเสี่ยงและบางครั้งราคาที่ต้องจ่ายไปคือชีวิต
คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก
อ่าน

คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก

หลังสิ้นคำพิพากษาศาลฎีกา ที่ลงโทษผู้ชุมนุมที่ประท้วงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ฐานปิดกั้นทางหลวงและใช้เครื่องเสียง ตี๋ ตรัยรัตนแสงมณี หนึ่งในจำเลยเห็นว่า แม้รัฐธรรมนูญจะรับรองสิทธิการชุมนุม แต่ก็ไม่ได้มีบทบัญญัติที่ชัดเจน อีกทั้งคำพิพากษาของศาลฎีกาก็ชี้ว่า ศาลรัฐธรรมนูญไม่เคยตีความหรือบัญญัติเรื่องการชุมนุมเอาไว้ สิทธิตามรัฐธรรมนูญจึงเป็นไปอย่างจำกัด
จาก “ชุมนุม”  สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”
อ่าน

จาก “ชุมนุม” สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”

“การชุมนุม” เป็นสิทธิการแสดงออกที่รัฐธรรมนูญไทยรับรองไว้ และเป็นปฏิบัติการสำคัญของการเมืองภาคประชาชน เพื่อให้ข้อเรียกร้องของกลุ่มตนให้ได้รับความสนใจ ที่ผ่านมามีความพยายามจัดการดูแลการชุมนุมโดยเสนอให้ตรากฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะขึ้นมาเป็นการเฉพาะแต่ยังไม่สำเร็จ อย่างไรก็ดี เวลานี้มีคดีอันสืบเนื่องมาจากการใช้เสรีภาพในการชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองหลายคดี และคำพิพากษาของศาลในคดีเหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อการชุมนุมเรียกร้องกันในอนาคต