พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา

หลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่า การคำนวนจำนวน ส.ส. จะต้องคำนวณโดยเอาเฉพาะจำนวนราษฎรที่มีสัญชาติไทยมาคำนวณเท่านั้น ส่งผลให้ กกต. ต้องคำนวณจำนวน ส.ส.ใหม่ และผลที่ตามมาคือ ต้องมีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ ซึ่งถ้ามีการยุบสภาในระหว่างที่การแบ่งเขตเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ ก็จะส่งผลให้ให้บางเขตไม่สามารถส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ และเกิดภาวระสูญญากาศทางการเมือง
เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ เคยร่างรัฐธรรมนูญ 60 นั่งกรรมการหลายตำแหน่ง
อ่าน

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ เคยร่างรัฐธรรมนูญ 60 นั่งกรรมการหลายตำแหน่ง

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ อุดม รัฐอมฤต อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากบทบาทในฐานะนักวิชาการแล้ว อุดมยังมีบทบาทต่อการเมืองไทย ในฐานะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560
ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ ร่างกฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ เตรียมทูลเกล้าฯ ประกาศใช้
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ ร่างกฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ เตรียมทูลเกล้าฯ ประกาศใช้

30 พฤศจิกายน 2565 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติวินิจฉัยว่า ร่างกฎหมายเลือกตั้งฯ ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และไม่มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ กระบวนการหลังจากนี้ นายกฯ นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศเป็นกฎหมาย
จับตา! กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรธน. อาจได้คนใหม่หน้าคุ้น อุดม รัฐอมฤต อดีตกรธ.
อ่าน

จับตา! กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรธน. อาจได้คนใหม่หน้าคุ้น อุดม รัฐอมฤต อดีตกรธ.

ตำแหน่งแห่งที่ในศาลรัฐธรรมนูญกำลังเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง เมื่อทวีเกียรติ  มีนะกนิษฐ พ้นตำแหน่งแล้ว จึงต้องมีการสรรหาผู้สมควรเป็นตุลาการแทนตำแหน่งที่ว่าง ซึ่งมีเพียงคนเดียวที่สมัครและผ่านด่านกรรมการสรรหาฯ คือ อุดม รัฐอมฤต อดีตกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ปี 2560
อนาคตของประยุทธ์หลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ “แคนดิเดตนายกฯ หรือองคมนตรี ???”
อ่าน

อนาคตของประยุทธ์หลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ “แคนดิเดตนายกฯ หรือองคมนตรี ???”

วาระที่เหลือของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่เริ่มจากปี 2560 ทำให้อนาคตทางการเมืองของพลเอกประยุทธ์เหลือสั้นลงประมาณ 2 ปี 6 เดือน เท่านั้น ซึ่งอาจส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองในการเลือกตั้งปี 2566 ว่าพลเอกประยุทธ์ยังอยากจะเป็นแคนดิเดตนายกฯ ต่อไปหรือไม่ หรือจะยุติบทบาททางการเมืองแล้วเบนเข็มสู่เส้นทางใหม่ เป็นองคมนตรี
คำต่อคำ ถอดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญให้ประยุทธ์รอดปมเป็นนายก 8 ปี
อ่าน

คำต่อคำ ถอดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญให้ประยุทธ์รอดปมเป็นนายก 8 ปี

ถอดคำต่อคำคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกรณีวาระดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ว่ายังไม่ครบ 8 ปีตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด
คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี
อ่าน

คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี

คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาปมวาระการดำรงตำแหน่งวรวิทย์ กังศศิเทียม มีอายุครบ 70 ปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550
7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม

หลังการรัฐประหารปี 2557 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญกลายเป็นส่วนของระบบเผด็จการ คสช. ตลอดเจ็ดปีที่ผ่านมา องค์กรเหล่านี้เข้ามายึดพื้นที่ทางการเมือง เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาอำนาจ คสช. และทำลายฝ่ายตรงข้าม คสช.