จับตาศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีเศรษฐา ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็นรัฐมนตรี
อ่าน

จับตาศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีเศรษฐา ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็นรัฐมนตรี

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคดีเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ปม 40 สว. ชุดพิเศษ ชงเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญว่าการที่เศรษฐาเคยตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่พิชิตเคยต้องคำพิพากษาคดีละเมิดอำนาจศาล เป็นพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ 2560
นครินทร์-ปัญญา ตุลาการจาก รธน. 50 อยู่ยาว สั่งยุบพรรคไปแล้วสามพรรค
อ่าน

นครินทร์-ปัญญา ตุลาการจาก รธน. 50 อยู่ยาว สั่งยุบพรรคไปแล้วสามพรรค

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และปัญญา อุดชาชน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจากรัฐธรรมนูญ 2550 ที่ “อยู่ยาว” และตัดสินยุบสามพรรคการเมือง ไทยรักษาชาติ-อนาคตใหม่-ก้าวไกล
ส่องวาระตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองคนจะพ้นบัลลังก์ปลายปี 67 เกินครึ่งยังอยู่ยาวถึงปี 70
อ่าน

ส่องวาระตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองคนจะพ้นบัลลังก์ปลายปี 67 เกินครึ่งยังอยู่ยาวถึงปี 70

เปิดวาระ 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองคนที่ผ่านความเห็นชอบจาก สนช. พ้นตำแหน่งปลายปี 67 เกินครึ่งอยู่ยาวถึงปี 70
ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” สั่งยุบพรรคก้าวไกล แบนกรรมการ 11 คน 10 ปี
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” สั่งยุบพรรคก้าวไกล แบนกรรมการ 11 คน 10 ปี

7 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคก้าวไกล เหตุการเสนอแก้ไขมาตรา 112 การหาเสียง และการกระทำอื่นที่เกี่ยวข้องกับ มาตรา 112 เข้าข่ายล้มล้าง-อาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองฯ
ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป
อ่าน

ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป

นับตั้งแต่ช่วงวิกฤติการเมืองในปี 2549 จนถึงวิกฤติรัฐธรรมนูญในปี 2567 เป็นเวลาเกือบสองทศวรรษที่ประเทศไทยต้องเผชิญหน้ากับระบบ “ตุลาการภิวัฒน์” หรือ การที่สถาบันตุลาการขยายอำนาจเข้ามามีบทบาททางการเมืองผ่านการตัดสินคดีความ และการที่ฝ่ายการเมืองที่สนับสนุนอำนาจรัฐประหารก็จงใจหยิบยืมมือของสถาบันตุลาการมาใช้โดยการส่งคดีที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองให้ “ศาล” ใช้อำนาจชี้ขาด
จับตาคดียุบพรรคก้าวไกล ปมเสนอแก้ ม. 112 ล้มล้างการปกครองฯ 
อ่าน

จับตาคดียุบพรรคก้าวไกล ปมเสนอแก้ ม. 112 ล้มล้างการปกครองฯ 

7 สิงหาคม 2567 เวลา 15.00 น. ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัย คดียุบพรรคก้าวไกล หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญแถลงยุติการไต่สวน ในขณะที่พรรคก้าวไกลแถลงข่าวบรรยายข้อต่อสู้ที่ใช้ในชั้นศาล ยืนยันว่าการยื่นคำร้องของ กกต. ไม่ชอบด้วยกฎหมายและศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจตัดสินคดีนี้ 
ศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรยุบพรรคง่าย เพราะขัดหลักการระหว่างประเทศที่ศาลไทยไปเข้าร่วม

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไทยไม่ควรยุบพรรคการเมืองง่าย เนื่องจากขัดกับแนวทางของสำนักการประชุมตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโลก และสมาคมศาลรัฐธรรมนูญและสถาบันเทียบเท่าแห่งเอเชีย ที่ไทยเข้าร่วม
iLaw ยื่นกมธ.เวนิซฯ ทบทวนร่วมประชุมศาลรัฐธรรมนูญไทย
อ่าน

iLaw ยื่นกมธ.เวนิซฯ ทบทวนร่วมประชุมกับศาลรัฐธรรมนูญไทย จนกว่าจะแก้ไขรัฐธรรมนูญ ปฏิรูปที่มาให้เป็นอิสระ

iLaw ส่งหนังสือถึงคณะกรรมาธิการเวนิซแห่งคณะมนตรียุโรป ขอให้ทบทวนการเข้าร่วมการประชุมสมาคมศาลรัฐธรรมนูญฯ เดือนกันยายน 2567 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญของประเทศไทยยังมีปัญหาด้านความชอบธรรมในการทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของประชาชนและที่มาซึ่งปราศจากความเป็นกลางทางการเมือง
ยุบพรรค ก้าวไกล
อ่าน

ไทยตอบ UN ยื่นยุบก้าวไกลเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ย้ำ ม.112 มีโทษแรงเหมาะสมแล้ว

รัฐบาลไทยตอบกลับข้อกังวลสหประชาชาติ ยืนยันการยื่นยุบพรรคก้าวไกลเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ย้ำมาตรา 112 มีโทษรุนแรงเหมาะสมแล้ว
สมรสเท่าเทียมแก้รอยรั่ว หลังศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยบทบัญญัติฟ้อง “ชู้” อย่างจำกัดเพศขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

สมรสเท่าเทียมแก้รอยรั่ว หลังศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยบทบัญญัติฟ้อง “ชู้” อย่างจำกัดเพศขัดรัฐธรรมนูญ

18 มิถุนายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1523 ที่ให้ฟ้องชู้ได้อย่างจำกัดเพศ ขัดรัฐธรรมนูญ ในวันเดียวกันนั้นเองรัฐสภาก็ผ่านร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ซึ่งแก้ไขเรื่องการฟ้องเรียกค่าทดแทนจากชู้ด้วย