จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อในวาระสอง-สาม
สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31

16 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎร (สส.) มีมติเห็นชอบ “อุ๊งอิ๊ง” แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ของประเทศไทย แพทองธารถือเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนเดียวที่ถูกเสนอชื่อในการประชุมครั้งนี้ ไม่มีพรรคใดเสนอแคนดิเดตแข่งด้วย
ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง
อ่าน

ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง

แม้การเลือกนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2562 และ 2566 จะมีสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ชุดพิเศษมาร่วมโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีด้วย แต่หลังจากพ้นระยะเวลาห้าปีที่มีรัฐสภาชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 272 แล้ว กลไกการเลือกนายกรัฐมนตรีจะกลับมาใช้ขั้นตอนปกติตามรัฐธรรมนูญ 2560 คือ เลือกนายกรัฐมนตรีโดยสภาผู้แทนราษฎร (สส.) เท่านั้น 
หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง
อ่าน

หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกฯ ครม. พ้นตำแหน่งตามทั้งคณะ ส่งผลให้ต้องมีการเลือกนายกฯ ใหม่และตั้ง ครม. ใหม่
ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด
อ่าน

ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด

14 สิงหาคม 2567 การตัดสินอนาคตทางการเมืองของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี โดยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ครั้งแรกที่นายกฯ ไทยต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มีบทบาทสูงในการชี้ทิศทางการเมืองไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 2550 และ 2560 มีนายกฯ ห้าคนที่ต้องเข้าสู่การพิจารณาคุณสมบัติโดยศาลรัฐธรรมนูญ
สว. 67 ระดับประเทศ : พบ Pattern การโหวต เขียนเลขเหมือนกันทุกช่อง ส่งกลุ่มละ 7 คนเป็นสว.
อ่าน

สว. 67 ระดับประเทศ : พบ Pattern การโหวต เขียนเลขเหมือนกันทุกช่อง ส่งกลุ่มละ 7 คนเป็นสว.

พบปรากฎการณ์เลือกแบบ “มีแพทเทิร์น” ในระหว่างการนับคะแนนรอบเลือกกันเองในกลุ่มเดียวกัน คือ มีหลายกลุ่มที่มีบัตรที่ออกเสียงเลือกเหมือนกันทุกหมายเลขและลำดับจำนวน 10-20 ใบ ซึ่ง ในทางคณิตศาสตร์โอกาสความบังเอิญที่จะเกิดขึ้นนั้น “เป็นไปไม่ได้เลย” จึงเชื่อได้ว่า มีการตกลงกันมาก่อนระหว่างผู้สมัครให้ออกเสียงเหมือนกันไปทางใดทางหนึ่งของผู้สมัครจำนวน 20-30 คนต่อกลุ่มเป็นอย่างน้อย
4 เหตุการณ์การเมืองสำคัญหลังยุบพรรคก้าวไกล
อ่าน

4 เหตุการณ์การเมืองสำคัญหลังยุบพรรคก้าวไกล

ศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคก้าวไกล ทำให้มี สส. จำนวน 143 คน ไร้สังกัดพรรค มี สส. หกคนที่สมาชิกภาพสิ้นสุดลง แบ่งเป็น สส. แบบบัญชีรายชื่อหกคน และ สส. แบบแบ่งเขตอีกหนึ่งคน นี่คือสี่เหตุการณ์สำคัญที่จะเกิดขึ้นหลังการยุบพรรคก้าวไกล
สว. 67: ปรากฏการณ์ สว. หกอันดับแรกคะแนนล้นกระดานในระดับประเทศ
อ่าน

สว. 67: ปรากฏการณ์ สว. หกอันดับแรกคะแนนล้นกระดานในระดับประเทศ

การเลือกสว. รอบเลือกไขว้ในสายเดียวกันเกิดปรากฏการณ์หกอันดับแรกคะแนนล้นกระดาน โดยเมื่อนำมาวิเคราะห์พบว่า จังหวัดที่มีผู้สมัครอยู่ในกลุ่มหกอันดับแรกมากที่สุด เช่น บุรีรัมย์ อยุธยาและสุรินทร์ ชวนย้อนดูปรากฏการณ์ สว. หกอันดับแรกแต่ละกลุ่มคะแนนล้น
#สว67 ประชุมนัดแรก เคาะเลือกอดีตผู้ว่าฯ บุรีรัมย์เป็นประธานวุฒิสภา
อ่าน

#สว67 ประชุมนัดแรก เคาะเลือกอดีตผู้ว่าฯ บุรีรัมย์เป็นประธานวุฒิสภา

23 กรกฎาคม 2567 สว. ชุดใหม่ในระบบ “เลือกกันเอง” มีมติเลือกมงคล สุระสัจจะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ และอดีตอธิบดีกรมการปกครอง เป็นประธานวุฒิสภา
สว.67 : เกษตรกรและผู้รับจ้างทั่วไปลงสมัครกลุ่ม “อุตสาหกรรม” ในจังหวัดบ้านใหญ่สีน้ำเงิน
อ่าน

สว.67 : เกษตรกรและผู้รับจ้างทั่วไปลงสมัครกลุ่ม “อุตสาหกรรม” ในจังหวัดบ้านใหญ่สีน้ำเงิน

หลังทราบผลการเลือกสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด 200 คนแล้ว มีสว. จากกลุ่ม 12 อุตสาหกรรม ทั้งหมด 10 คน ซึ่งอย่างน้อยหกคนมาจากจังหวัดที่มี สส.จากพรรคภูมิใจไทย หรือจังหวัดกลุ่มบ้านใหญ่สีน้ำเงิน