ยืดเวลาออกไปอีก! พิเชษฐ์ รองประธานสภา ชิงปิดประชุมนัดรับรองรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม
อ่าน

ยืดเวลาออกไปอีก! พิเชษฐ์ รองประธานสภา ชิงปิดประชุมนัดรับรองรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม

17 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีวาระพิจารณารับรองรายงานกมธ.นิรโทษกรรม แต่การประชุมครั้งนี้ยังไม่แล้วเสร็จ เนื่องจากพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งซึ่งเป็นประธานในที่ประชุมสั่งปิดประชุมระหว่างที่มีการถกเถียงกันว่าสมควรให้กรรมาธิการชี้แจงต่อหรือไม่
เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กระบวนการแก้ไขพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับกับการประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ส่อแววล่าช้าเมื่อ สว. ลงมติพลิกกลับมติ สส. ขอแก้ไขเนื้อหาร่าง ส่งผลให้กระบวนการพิจารณายืดออกไปอีก
เสียเวลาไปกับอะไร? ทำไมประชามติรัฐธรรมนูญใหม่ถึงไม่เกิด
อ่าน

เสียเวลาไปกับอะไร? ทำไมประชามติรัฐธรรมนูญใหม่ถึงไม่เกิด

กว่าหนึ่งปีของรัฐบาลเพื่อไทย สัญญาที่เคยให้ไว้ว่าจะจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ไม่เกิดขึ้น ประชามติก็ไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นคือกลไกมากมายที่ขยายเวลา จนมาถึงมือสว.
สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ
อ่าน

สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ

9 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไข ให้คงเกณฑ์เสียงข้างมากสองชั้นสำหรับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 0 เสียง ไม่เห็นชอบ 348 เสียง งดออกเสียง 65 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง กระบวนการหลังจากนี้คือสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต้องตั้งกรรมาธิการ (กมธ.) ร่วมกัน เพื่อพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ และส่งกลับให้ทั้งสองสภาลงมติอีกครั้งว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 
แก้เกม สว. เดินหน้าประชามติ 2 ครั้ง ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทัน ปี 2570
อ่าน

แก้เกม สว. เดินหน้าประชามติ 2 ครั้ง ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทัน ปี 2570

การแก้ไข ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ของ สว. นอกจากจะทำให้การทำประชามติผ่านความเห็นชอบของประชาชนได้ยากขึ้นและจะยังจะทำให้การทำประชามติครั้งแรกเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2568 เกิดขึ้นไม่ทัน จึงต้องกลับมาเริ่มต้นใหม่ที่ สส. อีกครั้ง และอาจจะใช้เวลานานถึงแปดเดือน
สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ

30 กันยายน 2567 ที่ประชุม สว. มีมติเห็นชอบร่างแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ประชามติ ตามที่กรรมาธิการเสนอแก้ไข ด้วยคะแนนเห็นชอบ 167 เสียง ไม่เห็นชอบ 19 เสียง และงดออกเสียง 7 เสียง โดยเปลี่ยนเกณฑ์เสียงข้างมากธรรมดาที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบให้คงไว้ซึ่งเสียงข้างมากสองชั้นในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ
แก้รัฐธรรมนูญ : สส. พรรคประชาชน เสนอลบล้างผลพวงคสช. – เพิ่มกลไกต่อต้าน ป้องกันรัฐประหาร
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ : สส. พรรคประชาชน เสนอลบล้างผลพวงคสช. – เพิ่มกลไกต่อต้าน ป้องกันรัฐประหาร

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 สส. พรรคก้าวไกล เสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสามฉบับต่อรัฐสภา ได้แก่ 1) ยกเลิก มาตรา 279 ลบล้างผลพวงรัฐประหาร 2557 2) ยกเลิกยุทธศาสตร์ชาติ-แผนปฏิรูปประเทศ 3) เพิ่มกลไกป้องกัน-ต่อต้านการรัฐประหาร ข้อเสนอของพรรคประชาชนจะผ่านการพิจารณาของรัฐสภาหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเสียง สว. ชุดใหม่
3 คูหา – 2 ประชามติ – 1 เลือกตั้ง : เส้นทางร่างรัฐธรรมนูญประชาชนที่เร็วที่สุด
อ่าน

3 คูหา – 2 ประชามติ – 1 เลือกตั้ง : เส้นทางร่างรัฐธรรมนูญประชาชนที่เร็วที่สุด

หนึ่งปีผ่านมา รัฐบาลเพื่อไทยยังไม่ได้เริ่มต้นจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ เพื่อเดินหน้าสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนโดยเร็วที่สุด รัฐบาลอาจจะพิจารณาทำประชามติเพียง 2 ครั้ง
สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน
อ่าน

สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน

21 สิงหาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติผ่านร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ในวาระสาม ด้วยคะแนนเห็นชอบ 409 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง เพื่อปลดล็อก “เสียงข้างมากสองชั้น” ที่ใช้ชี้วัดว่าการทำประชามตินั้นจะมีข้อยุติหรือไม่ มาใช้เสียงเสียงข้างมากแทน
บทสรุปสว.67 : ระบบ “แบ่งกลุ่ม”-“เลือกกันเอง” สร้างความสับสน ผู้ชนะเกาะกลุ่มกินรวบ
อ่าน

บทสรุปสว.67 : ระบบ “แบ่งกลุ่ม”-“เลือกกันเอง” สร้างความสับสน ผู้ชนะเกาะกลุ่มกินรวบ

ความซับซ้อนและขาดการมีส่วนร่วมส่งผลให้ที่มาของสว. แบบแบ่งกลุ่มและเลือกกันเองขาดความเป็นตัวแทนและความรับผิดชอบต่อประชาชน ให้ผลตรงข้ามกับที่ผู้ออกแบบระบบวาดฝันจะป้องกันอิทธิพลนักการเมือง