สว. 67 เห็นชอบประภาศ คงเอียด เป็นกรรมการ ป.ป.ช. คนใหม่ หลังสรรหาไปแล้วหนึ่งรอบ แต่ สว. แต่งตั้งไม่เห็นชอบ
อ่าน

สว. 67 เห็นชอบประภาศ คงเอียด เป็นกรรมการ ป.ป.ช. คนใหม่ หลังสรรหาไปแล้วหนึ่งรอบ แต่ สว. แต่งตั้งไม่เห็นชอบ

20 มกราคม 2568 ที่ประชุมวุฒิสภามีมติ “ให้ความเห็นชอบ” ด้วยคะแนนเสียงเห็นชอบ 173 เสียง ไม่เห็นชอบ 11 เสียงและไม่ออกเสียง 6 เสียง ให้ประภาศ คงเอียด อดีตอธิบดีกรมธนารักษ์ ดำรงตำแหน่งกรรมการ ป.ป.ช. ประภาศเป็นผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระคนแรกที่ได้รับความเห็นชอบโดย สว. ชุดใหม่จากระบบ “เลือกกันเอง”
กมธ. ร่วมฯ ยันใช้เสียงข้างมากสองชั้น หาก สส. จะยันเสียงข้างมากชั้นเดียวอาจต้องรอ 180 วัน
อ่าน

กมธ. ร่วมฯ ยันใช้เสียงข้างมากสองชั้น หาก สส. จะยันเสียงข้างมากชั้นเดียวอาจต้องรอ 180 วัน

20 พฤศจิกายน 2567 กรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (กมธ.ร่วมฯ) มีมติโดยเสียงข้างมากให้คงไว้ซึ่งระบบเสียงข้างมากสองชั้น (Double Majority) ในการหาข้อยุติสำหรับการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
กกต. ต้องเร่งส่งเรื่องไปศาลรธน. ฟัน “สมชาย เล่งหลัก” พ้น สว. เหตุถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
อ่าน

กกต. ต้องเร่งส่งเรื่องไปศาลรธน. ฟัน “สมชาย เล่งหลัก” พ้น สว. เหตุถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง

กกต. ควร “เร่ง” ดำเนินการส่งเรื่องไปให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยกรณี สว. สมชาย เล่งหลัก ยิ่ง กกต. ส่งเรื่องช้า ยิ่งทำให้ สว. ที่มีลักษณะต้องห้าม ยังอยู่ในตำแหน่ง สว. ต่อไปอีก
สว. ขาดคุณสมบัติ – มีลักษณะต้องห้าม อาจถูกศาลรัฐธรรมนูญฟันพ้นตำแหน่งได้
อ่าน

สว. ขาดคุณสมบัติ – มีลักษณะต้องห้าม อาจถูกศาลรัฐธรรมนูญฟันพ้นตำแหน่งได้

เงื่อนไขคุณสมบัติ-ลักษณะต้องห้าม ส่งผลต่อสถานะ สว. หากทำสิ่งใดขัดหรือแย้งเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด อาจพ้นจากตำแหน่งได้
เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กระบวนการแก้ไขพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับกับการประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ส่อแววล่าช้าเมื่อ สว. ลงมติพลิกกลับมติ สส. ขอแก้ไขเนื้อหาร่าง ส่งผลให้กระบวนการพิจารณายืดออกไปอีก
สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ
อ่าน

สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ

9 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไข ให้คงเกณฑ์เสียงข้างมากสองชั้นสำหรับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 0 เสียง ไม่เห็นชอบ 348 เสียง งดออกเสียง 65 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง กระบวนการหลังจากนี้คือสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต้องตั้งกรรมาธิการ (กมธ.) ร่วมกัน เพื่อพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ และส่งกลับให้ทั้งสองสภาลงมติอีกครั้งว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 
แก้เกม สว. เดินหน้าประชามติ 2 ครั้ง ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทัน ปี 2570
อ่าน

แก้เกม สว. เดินหน้าประชามติ 2 ครั้ง ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทัน ปี 2570

การแก้ไข ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ของ สว. นอกจากจะทำให้การทำประชามติผ่านความเห็นชอบของประชาชนได้ยากขึ้นและจะยังจะทำให้การทำประชามติครั้งแรกเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2568 เกิดขึ้นไม่ทัน จึงต้องกลับมาเริ่มต้นใหม่ที่ สส. อีกครั้ง และอาจจะใช้เวลานานถึงแปดเดือน
สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ

30 กันยายน 2567 ที่ประชุม สว. มีมติเห็นชอบร่างแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ประชามติ ตามที่กรรมาธิการเสนอแก้ไข ด้วยคะแนนเห็นชอบ 167 เสียง ไม่เห็นชอบ 19 เสียง และงดออกเสียง 7 เสียง โดยเปลี่ยนเกณฑ์เสียงข้างมากธรรมดาที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบให้คงไว้ซึ่งเสียงข้างมากสองชั้นในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ
3 คูหา – 2 ประชามติ – 1 เลือกตั้ง : เส้นทางร่างรัฐธรรมนูญประชาชนที่เร็วที่สุด
อ่าน

3 คูหา – 2 ประชามติ – 1 เลือกตั้ง : เส้นทางร่างรัฐธรรมนูญประชาชนที่เร็วที่สุด

หนึ่งปีผ่านมา รัฐบาลเพื่อไทยยังไม่ได้เริ่มต้นจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ เพื่อเดินหน้าสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนโดยเร็วที่สุด รัฐบาลอาจจะพิจารณาทำประชามติเพียง 2 ครั้ง
สว. 67 : ทำความรู้จัก 200 สว. ชุดใหม่ ที่มาจากระบบ “เลือกกันเอง”
อ่าน

สว. 67 : ทำความรู้จัก 200 สว. ชุดใหม่ ที่มาจากระบบ “เลือกกันเอง”

ทำความรู้จัก 200 สว. 2567 ที่มาจากระบบ “เลือกกันเอง” ประชาชนส่วนใหญ่ไม่ได้เลือก แต่มาทำหน้าที่เป็น “ผู้แทนปวงชน”