รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.

สมาชิก สนช. และ ครม. มาจากการแต่งตั้งใครก็ได้ในตอนแรก แต่เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ คุณสมบัติของผู้ใช้อำนาจก็ต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย ทำให้สมาชิก สนช. และ ครม. มีเรื่องต้องถูกตรวจสอบมากขึ้น แต่ยังยกเว้นให้เป็นข้าราชการไปด้วย นั่งในสภาไปพร้อมกันได้
อ่าน

เลือกตั้งมีสิทธิ์เลื่อน ถ้า สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย กฎหมาย ส.ว.

แม้ สนช. จะลงมติเห็นชอบร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งวุฒิสภา พ.ศ ไปแบบเอกฉันท์ แต่ทว่าการเลือกตั้งตามโรดแมปก็ยังไม่นิ่ง และมีเหตุให้ต้องเลื่อนหากสนช. ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กฎหมาย ส.ว. ทั้งฉบับขัดต่อรัฐธรรมนูญ รวมถึงหากศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้กฎหมาย ส.ว. มีอันต้องตกไปทั้งฉบับ ก็มีแนวโน้มที่จะต้องร่างกฎหมาย ส.ว. กันใหม่อีกครั้ง
อ่าน

กมธ.ร่วมฯ แก้ไขกฎหมายลูก ส.ว. เพิ่มบทเฉพาะกาล ส.ว. ชุดที่สองเลือกไม่เหมือนชุดอื่น

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ว.ฯ ยังไม่เป็นที่ถูกใจของผู้ที่เกี่ยวข้องเสียที นำไปสู่การตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญร่วมสามฝ่ายซึ่งประกอบไปด้วยประธาน กกต., กรธ. 5 คน และสนช. 5 คน และก็เคาะผลลัพธ์กันออกมา กลายเป็นมีสองระบบในบททั่วไปกับในบทเฉพาะกาล
ร่างกฎหมายลูก ส.ว. : สนช. แก้ลดโควต้าอาชีพผู้สมัคร ส.ว. เหลือแค่ 10 กลุุ่ม
อ่าน

ร่างกฎหมายลูก ส.ว. : สนช. แก้ลดโควต้าอาชีพผู้สมัคร ส.ว. เหลือแค่ 10 กลุุ่ม

จากหลักการเดิมที่กรธ. เป็นคนเสนอ ตาม พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ว กำหนดไว้ว่า ให้ส.ว. มาจากการคัดเลือกกันเอง ของผู้สมัคร ส.ว. จากโควต้ากลุ่มอาชีพ 20 กลุ่ม แต่ร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของ สนช. เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2561 มีการเปลี่ยนหลักการ โดยลดจำนวนโควต้ากลุ่มอาชีพลงจาก 20 กลุ่ม เหลือเพียง 10 กลุ่ม พร้อมทั้งเพิ่มช่องทางให้องค์กรนิติบุคคลสามารถเสนอชื่อ ผู้สมัคร ส.ว. ได้
เปิดร่างกฎหมายลูก “ที่มา ส.ว.” ใช้ 20 กลุ่มอาชีพ “คัดเลือกกันเอง”
อ่าน

เปิดร่างกฎหมายลูก “ที่มา ส.ว.” ใช้ 20 กลุ่มอาชีพ “คัดเลือกกันเอง”

พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่ง ส.ว. เป็นหนึ่งในกฎหมายลูกที่ กรธ. ต้องร่างให้เสร็จตามรัฐธรรมนูญที่ตนได้วางไว้ โดยเนื้อหาสาระของกฎหมายก็คือ การขยายบทบัญญัติรัฐธรรมนูญให้ชัดเจนขึ้น เช่น จำนวนและประเภทของกลุ่มอาชีพที่ให้ลงสมัคร หรือวิธีการคัดเลือกกันเองทั้งแบบภายในกลุ่มและข้ามกลุ่ม รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขคัดกรองผู้ลงสมัคร
ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย
4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ที่มาและอำนาจของ ส.ว. แบบไม่ได้ง้อการเลือกตั้ง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ที่มาและอำนาจของ ส.ว. แบบไม่ได้ง้อการเลือกตั้ง

หลายคนอาจจะพอทราบเรื่องที่มาของ ส.ว. 5 ปีแรกที่มาจากการแต่งตั้งโดย คสช. แต่ทว่าหลังจากนั้นที่มาของ ส.ว. จะเปลี่ยนใหม่ ให้มาจากการคัดเลือกกันเองของแต่ละกลุ่มอาชีพโดยไม่มีการเลือกตั้ง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น อำนาจของ ส.ว. ทั้งสองช่วงก็ยังคงเหมือนเดิม