“บทเรียนราคาแพง” จากไม้บรรทัดของคนรักสัตว์
อ่าน

“บทเรียนราคาแพง” จากไม้บรรทัดของคนรักสัตว์

ในความเข้าใจของคนในสังคม สัตว์เลี้ยงอาจไม่ได้มีสถานะเป็นแค่สัตว์หรือทรัพย์สิน แต่เป็นเพื่อนร่วมโลกที่ขาดไปไม่ได้ นั่นจึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนผลักดันกฎหมายคุ้มครองสัตว์ออกมา แต่ทว่า คำถามคือ ทุกคนมีความคิดและความรู้สึกต่อสัตว์เหมือนกันหรือเปล่า และเราจะอยู่ร่วมกันภายใต้ไม้บรรทัดอันใหม่กันอย่างไร
ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”
อ่าน

ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”

โลกปัจจุบันการเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต แต่ปัญหาที่ตามมากคือ "การละเมิดล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว" ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวเป็นสิทธิพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาโดยตลอด จวบจนร่างรัฐธรรมนูญ 2559 แต่ทว่าแนวทางของรัฐบาลปัจจุบันทำให้เราต้องจับตากฎหมายลูกให้มากขึ้นด้วยวิธีเขียนที่ต่างออกไป
ข่มขืน=ประหาร? ข้อถกเถียงที่ยังไม่มีวันจบ
อ่าน

ข่มขืน=ประหาร? ข้อถกเถียงที่ยังไม่มีวันจบ

เมื่อมีข่าวคดีข่มขืนสะเทือนขวัญ ดีเบตเรื่อง ข่มขืน=ประหารชีวิต ก็จะดังกลับขึ้นมาในสังคมเป็นระยะๆ ฝ่ายหนึ่งมองผ่านมุมของเหยื่อ ฝ่ายหนึ่งมองผ่านมุมของผู้ต้องหาและสิทธิมนุษยชน ข้อสรุปเหตุผลพื้นฐานของแต่ละฝ่ายอาจช่วยให้เข้าใจข้อถกเถียงที่ยังดำเนินต่อไปอย่างไม่มีจุดจบนี้มากขึ้น
สนช.ตอบจดหมายเปิดผนึก ขอให้ทบทวนร่าง พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีค้ามนุษย์
อ่าน

สนช.ตอบจดหมายเปิดผนึก ขอให้ทบทวนร่าง พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีค้ามนุษย์

มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาฯ ส่งหนังสือเปิดผนึกถึง สนช. เพื่อให้ทบทวนร่าง พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีค้ามนุษย์
กรณีผู้บริโภคได้รับ SMS และเสียค่าบริการ โดยที่ไม่ได้สมัครใช้บริการ
อ่าน

กรณีผู้บริโภคได้รับ SMS และเสียค่าบริการ โดยที่ไม่ได้สมัครใช้บริการ

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดให้มีวิชาหลักวิชาชีพนักกฎหมายโดยให้นักศึกษาทำโครงงานกฎหมายเพื่อช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำแก่ประชาชน กลุ่มหนึ่งในวิชานี้เลือกหัวข้อ "SMS กินตังค์" ซึ่งเป็นหัวข้อเกี่ยวกับผู้ประกอบการโทรคมนาคมส่ง SMS ให้แก้ผู้บริโภคโดยผู้บริโภคไม่ได้สมัครใช้บริการและเป็นเหตุให้ผู้บริโภคเสียค่าบริการ
ความเป็นส่วนตัวกับความมั่นคง: หลักการและเหตุผลที่ต้องอยู่ร่วมกัน
อ่าน

ความเป็นส่วนตัวกับความมั่นคง: หลักการและเหตุผลที่ต้องอยู่ร่วมกัน

ความมั่นคงและความเป็นส่วนตัวเป็นเพียงทางเลือกที่ได้อย่างก็ต้องเสียอย่างจริงหรือไม่ ความเป็นส่วนตัวอยู่ร่วมกับความมั่นคงได้หรือเปล่า มาร่วมหาคำตอบกับอาจารย์ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล อาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไปด้วยกันได้เลย
คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน
อ่าน

คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "มีชัย" เผยโฉม หนึ่งในประเด็นที่ต้องจับตาก็คือส่วนของบทเฉพาะกาลที่ได้ขยายระยะเวลาโรดแมปจากเดิมที่เป็นสูตร 6-4-6-4 เป็น 6-4-8-2-5 นั่นหมายความว่า ถ้าประชามติร่างรัฐธรรมนูญผ่าน ประชาชนต้องอยู่กับ คสช. ไปอีกอย่างน้อย 5 เดือน
ร่าง พ.ร.บ.ตั้งศาลคดีทุจริต: “ของขวัญ” คนไทยตามนโยบายปราบโกงของ คสช.
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ตั้งศาลคดีทุจริต: “ของขวัญ” คนไทยตามนโยบายปราบโกงของ คสช.

คณะรัฐมนตรีเสนอร่างกฎหมายใหม่ ให้จัดตั้งศาลพิเศษสำหรับพิจารณาคดีทุจริตเป็นการเฉพาะ แต่ยังไม่ชัดว่าวิธีพิจารณาคดีจะแตกต่างจากศาลปกติอย่างไร และศาลใหม่นี้ไม่ได้พิจารณาคดีทุจริตของนักการเมือง เพราะเป็นอำนาจของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองอยู่แล้ว
พ.ร.บ.ส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาฯ ‘คุ้มครอง’ หรือ ‘แช่แข็ง’ วัฒนธรรม?
อ่าน

พ.ร.บ.ส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาฯ ‘คุ้มครอง’ หรือ ‘แช่แข็ง’ วัฒนธรรม?

แม้ว่าร่าง พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จะตัดบทลงโทษกรณีทำให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อมรดกทางวัฒนธรรมออกไป แต่กฎหมายฉบับนี้ก็มีความน่ากังวลว่าจะตีความครอบคลุมสิ่งใดบ้าง เพราะคำว่าวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้มีความหมายกว้างและเป็นนามธรรมมาก
กฎหมายหอพัก: เป็นหูเป็นตาให้รัฐเพื่อแลกสิทธิประโยชน์
อ่าน

กฎหมายหอพัก: เป็นหูเป็นตาให้รัฐเพื่อแลกสิทธิประโยชน์

คุณพ่อคุณแม่อาจจะสบายใจขึ้น เมื่อแก้ไขกฎหมายหอพักให้มีการจัดการหอพักอย่างรัดกุมและเคร่งครัด แถมผู้ประกอบการยังยิ้มได้ เพราะหากทำตามที่รัฐขอก็อาจจะได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและอื่นๆ อีก เรียกได้ว่า เด็กๆ จะมีผู้ช่วยปกครองอยู่ด้วยภายในหอ