เปิดร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ โพสต์ปลุกระดม ติดคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับ 2 แสน
อ่าน

เปิดร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ โพสต์ปลุกระดม ติดคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับ 2 แสน

ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่จะกำหนดกติกาการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีข้อน่าสนใจ เช่น การกำหนดโทษหนักถึง 10 ปี สำหรับการโพสต์ที่ผิดข้อเท็จจริงหรือปลุกระดม ก่อนการทำประชามติ 7 วัน ห้ามมีการเปิดเผยผลโพลที่เกี่ยวกับการออกเสียง กำหนดอายุผู้มีสิทธิออกเสียงไว้ที่ 18 ปี ส่วนการแสดงความคิดเห็นและรณรงค์สามารถทำได้ แต่ต้องเป็นไปตามที่ กกต.กำหนด
กฎหมายกองทุนยุติธรรมกับหกปัญหาที่หลงเหลือก่อนบังคับใช้จริง
อ่าน

กฎหมายกองทุนยุติธรรมกับหกปัญหาที่หลงเหลือก่อนบังคับใช้จริง

ต้องยอมรับความจริงที่ว่า ฐานะทางเศรษฐกิจคือตัวแปรหนึ่งที่จะกำหนดชะตากรรมของผู้ถูกตั้งข้อหา  นั่นก็เพราะว่า ตลอดเส้นทางของกระบวนการยุติธรรมล้วนมีค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็นค่าเดินทาง ค่าจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล หรือแม้แต่ค่าประกันตัว และด้วยเหตุนี้ ภาคประชาชนจึงพยายามจะผลักดันให้มีกฎหมายกองทุนยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพเพื่อแทนที่กองทุนเดิมที่เป็นเพียงระเบียบของกระทรวงยุติธรรม
ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค. 59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า
จับตากฎหมายเตรียมเข้า สนช. ระวังเผลอแป๊บเดียวผ่าน
อ่าน

จับตากฎหมายเตรียมเข้า สนช. ระวังเผลอแป๊บเดียวผ่าน

การพิจารณากฎหมายในยุค คสช. เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในชั้นของ สนช. ที่เมื่อกฎหมายใดผ่านเข้าสภาไปได้ก็มักจะไม่มีการคัดค้านหรือแก้ไขมากนัก ไอลอว์ชวนจับตากฎหมายที่จะส่งผลกระทบต่อประชาชน เช่น ร่าง พ.ร.บ.แร่ ที่ตัดช่องทางประชาชนค้านเหมือง ร่าง พ.ร.บ.ยา ที่ให้ผู้ไม่ใช่เภสัชกรจ่ายยาได้ ก่อนที่กฎหมายเหล่านี้จะผ่าน สนช. และมีผลบังคับใช้จริง
สนช.แก้ กม.อาญาแล้ว 4 ครั้ง ห้ามหนังโป๊เด็ก-ข่มขืนศพ ข่มขืนเด็กเพิ่มโทษ ให้รอลงอาญาใส่กำไลติดตามตัว
อ่าน

สนช.แก้ กม.อาญาแล้ว 4 ครั้ง ห้ามหนังโป๊เด็ก-ข่มขืนศพ ข่มขืนเด็กเพิ่มโทษ ให้รอลงอาญาใส่กำไลติดตามตัว

ในยุครัฐบาล คสช. สภานิติบัญญัติแห่งชาติแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาไปแล้ว 4 ครั้ง เป็นเรื่องวนเวียนอยู่ที่ความผิดเกี่ยวกับเพศถึงสามครั้ง ทั้งเพิ่มโทษปรับฐานข่มขืนเด็ก เพิ่มความผิดฐานข่มขืนศพ ครอบครองเผยแพร่สื่อลามกอนาจารเด็ก และเพิ่มเงื่อนไขการรอลงอาญาให้ง่ายขึ้น
แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราว: ประชามตินับเสียงเห็นชอบ/ไม่เห็นชอบเท่านั้น
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราว: ประชามตินับเสียงเห็นชอบ/ไม่เห็นชอบเท่านั้น

ร่างรัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว) 2557 ฉบับที่สอง มีการแก้ไขในห้าประเด็นเพื่อทำให้กระบวนการออกเสียงประชามติมีความชัดเจนขึ้น เช่น การแก้ไขประเด็นการนับเสียงข้างมากในการออกเสียงประชามติ ฯลฯ ส่วนถ้าประชามติไม่ผ่านจะทำอย่างไรนั้นยังไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติม
ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ฯ เข้า สนช. เปิดช่องตั้งโรงงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์ความปลอดภัยยังไม่ชัด
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ฯ เข้า สนช. เปิดช่องตั้งโรงงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์ความปลอดภัยยังไม่ชัด

ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ ที่ สนช.กำลังพิจารณา ชัดเจนว่าเปิดช่องตั้งสถานประกอบการฯ ผลิตพลังงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์การควบคุมหลายเรื่อง เช่น การทิ้งกากกัมมันตภาพรังสี ยังไม่ชัดต้องรอดูกฎกระทรวง แม้กำหนดให้ต้องทำรายงานด้านสิ่งแวดล้อม แต่ก็ยังไม่ใช่ EIA
เปิดข้อเสนอ สนช.ขอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย
อ่าน

เปิดข้อเสนอ สนช.ขอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย

ปิดรับข้อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นที่เรียบร้อยเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 สนช.ได้ส่งความคิดเห็นเพื่อให้ กรธ.พิจารณาแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สมบูรณ์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการออกเสียงประชามติในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2559 โดย สนช.มีข้อเสนอหลายประเด็นที่น่าสนใจ
‘โอนคดีสิ่งแวดล้อม’ ไปศาลแพ่ง หนุนความเป็นธรรมหรือสร้างภาระ?
อ่าน

‘โอนคดีสิ่งแวดล้อม’ ไปศาลแพ่ง หนุนความเป็นธรรมหรือสร้างภาระ?

พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ฉบับที่ 28 ปี 2558 กำหนดให้โอนคดีที่มีลักษณะเป็นคดีสิ่งแวดล้อม จากศาลชั้นต้นอื่นไปยังศาลแพ่งได้ แต่ยังมีข้อถกเถียงว่าการโอนคดีจะเป็นการเพิ่มภาระ หรือส่งเสริมความเป็นธรรมตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่
พ.ร.บ.ส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาฯ ‘คุ้มครอง’ หรือ ‘แช่แข็ง’ วัฒนธรรม?
อ่าน

พ.ร.บ.ส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาฯ ‘คุ้มครอง’ หรือ ‘แช่แข็ง’ วัฒนธรรม?

แม้ว่าร่าง พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จะตัดบทลงโทษกรณีทำให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อมรดกทางวัฒนธรรมออกไป แต่กฎหมายฉบับนี้ก็มีความน่ากังวลว่าจะตีความครอบคลุมสิ่งใดบ้าง เพราะคำว่าวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้มีความหมายกว้างและเป็นนามธรรมมาก