สถาบันความยุติธรรมที่แขวนไว้บนความเสี่ยง
อ่าน

สถาบันความยุติธรรมที่แขวนไว้บนความเสี่ยง

วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 ที่ Cartel Art Space กานต์ ทัศนภักดิ์ ศิลปินอิสระจัดนิทรรศการแสดงภาพถ่ายการชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ปี 2563 และจัดวงเสวนาว่าด้วยเรื่อง กฏหมายทั้งมาตรา 112 มาตรา 116 และอื่นๆ ที่นำมาใช้ควบคุมการชุมนุม/การเคลื่อนไหวทางการเมือง
ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว
อ่าน

ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว

กมธ. ของ ส.ว. ได้ปรับแก้หรือตัดข้อเสนอใน ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ จำนวนหนึ่งที่เสนอในชั้น กมธ. ส.ส. และได้รับมติเห็นชอบจาก ส.ส. แล้ว เช่น ตัดโความผิดฐานกระทำย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ฯ การปรับโครงสร้างและที่มาของคณะกรรมการ จนทำให้ร่างของ กมธ. ส.ว. นั้นแทบจะปรับแก้ให้เนื้อหาสำคัญกลับไปเป็นเหมือนร่างของ ครม.
ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้
อ่าน

ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้

เส้นทางของประเทศไทยที่จะมีกฎหมายเพื่อป้องกันการซ้อมทรมานและการอุ้มหายเหลืออีกไม่ไกลแล้ว แต่ก่อนจะไปถึงจุดหมายที่หลายฝ่ายพยายามผลักดันมานาน ก็ยังต้องเจอกับ “วุฒิสภา” อันเป็นอีกหนึ่งด่านสำคัญที่รับไม้ต่อมาจากสภาผู้แทนราษฎร
หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ
อ่าน

หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ

23 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติในวาระที่สองและสาม เห็นชอบกับร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ที่คณะกรรมาธิการแก้ไข โดยลำดับต่อไป ร่างกฎหมายก็จะถูกส่งไปให้วุฒิสภาพิจารณา ก่อนจะทูลเกล้าให้ลงพระปรมาภิไธยเพื่อประกาศใช้อย่างเป็นทางการในพระราชกิจจานุเบกษา
จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด
อ่าน

จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด

เส้นทางของพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ได้เดินทางมาถึงวาระสอง โดยในชั้นกรรมาธิการได้มีการนำเนื้อหาของร่างของพรรคการเมืองและภาคประชาชนเข้ามารวมกับร่างที่ครม. เสนอในวาระหนึ่งด้วย ทำให้ร่างก้าวหน้าขึ้น การพิจารณาในวาระสอง จึงเป็นอีกหนึ่งวาระที่น่าจับตาว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร
เปิดร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ฟื้นฟู จับตา อุดช่องโหว่ปัญหาคดีอุกฉกรรจ์
อ่าน

เปิดร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ฟื้นฟู จับตา อุดช่องโหว่ปัญหาคดีอุกฉกรรจ์

ปัญหาการกระทำความผิดอาญารุนแรงซ้ำ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญของสังคมไทย แม้จะมีมาตรการบางส่วนที่รับมือกับปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ครม. จึงเสนอร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ซึ่งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระทำความผิดซ้ำ เพื่ออุดช่องโหว่ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทย 
ศาลรัฐธรรมนูญ: คำวินิจฉัยคดีม็อบ 10 สิงหาฯ กับ อนาคตของข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญ: คำวินิจฉัยคดีม็อบ 10 สิงหาฯ กับ อนาคตของข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์

10 พฤศจิกายน 2564 ศาลรัฐธรรมนูญจะอ่านคำวินิจฉัยคดี "ล้มล้างการปกครองฯ" สืบเนื่องจากวันที่ 3 กันยายน 2563 ที่ณฐพร โตประยูร ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้ศาลสั่ง "เลิกการกระทำ" เพราะเหตุปราศรัยเรียกร้องในประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยอ้างว่าเข้าข่ายล้มล้างการปกครองฯ ขัดกับรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 49 
ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง
อ่าน

ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง

นับจนถึงต้นเดือนตุลาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ออกข้อกำหนดเพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั้งสิ้น 34 ฉบับ และยังแต่งตั้งให้พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนนที่เกี่ยวกับความมั่นคง พล.อ.เฉลิมพลก็ได้ออกประกาศหัวหน้าผู้รับชอบฯเรื่อง ห้ามการชุมชุม การทำกิจกรรม การมั่วสุม ที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 ) รวมแล้ว 11 ฉบับ กลายเป็นกฎหมายหลักที่ถูกนำมาใช้สั่ง “ห้ามชุมนุม” และดำเนินคดีผู้ชุมนุมตามหลัง
จับกุมเด็กและเยาวชนต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ห้ามใช้เครื่องพันธนาการ
อ่าน

จับกุมเด็กและเยาวชนต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ห้ามใช้เครื่องพันธนาการ

การปรากฏตัวขึ้นของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ซ” เมื่อช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ได้นำไปสู่การปะทะอย่างต่อเนื่องระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ณ บริเวณแยกดินแดง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นส่งผลให้มีการจับกุมผู้ชุมนุมซึ่งรวมถึงเด็กและเยาวชนจำนวนมาก ทั้งนี้ กระบวนการและขั้นตอนในการจับกุมเด็กและเยาวชนนั้นมีความแตกต่างจากกระบวนการที่ใช้เมื่อจับกุมผู้ต้องหาที่เป็นผู้ใหญ่ โดยกฎหมายหลักที่ใช้ก็คือ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
เปิดสี่ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหาย สร้างกลไกป้องกัน อุดช่องโหว่ปัญหาทรมาน-อุ้มหาย
อ่าน

เปิดสี่ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหาย สร้างกลไกป้องกัน อุดช่องโหว่ปัญหาทรมาน-อุ้มหาย

สภาวะที่รัฐไม่มีกฎหมายภายในรับรองกรณีการซ้อมทรมานและอุ้มหาย กลายเป็นช่องโหว่ให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือผู้มีอำนาจยังคงลอยนวลพ้นผิด แต่ในที่สุดร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ไม่ว่าจะที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรี กรรมาธิการกฎหมายฯ พรรคประชาชาติ พรรคประชาธิปัตย์ ทั้งหมดสี่ฉบับ ก็ถูกบรรจุเป็นวาระการประชุมให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา โดยทั้งสี่ฉบับมีรายละเอียดต่างกัน