การทรมาน: ชดเชย แต่ไม่ป้องกัน
อ่าน

การทรมาน: ชดเชย แต่ไม่ป้องกัน

ประเทศไทยยังไม่มีฐานความผิดตามกฎหมายที่มารองรับการกระทำ "ทรมาน" ซึ่งหลายองค์กรอยู่ระหว่างการผลักดันให้แก้ไขกฎหมาย แต่สิ่งที่ท้าทายคือ แม้มีความผิดฐานทรมานเพื่อเอาผิดเจ้าหน้าที่รัฐแล้ว จะทำอย่างไรให้ใช้ได้จริงในทางปฎิบัติ และจะป้องกันไม่ให้เกิดการทรมานได้หรือไม่
เข้าใจความหมายของการ “อุ้มหาย” เขียนกฎหมายให้แก้ปัญหา
อ่าน

เข้าใจความหมายของการ “อุ้มหาย” เขียนกฎหมายให้แก้ปัญหา

เราอาจเคยเห็นพาดหัวข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ ว่า “อุ้มหาย” หรือ “อุ้มฆ่า” โดยเหยื่ออาจเป็นผู้มีอิทธิพล หรือ ผู้ที่แสดงความคิดเห็นต่างกับรัฐ บางคนอาจคิดในใจว่า “เป็นปุ๋ยไปแล้วมั๊ง!” หรือไม่ก็ “พวกนี้มันมาเฟียจริงๆ!” ซึ่งหากพิจารณาในแง่กฎหมาย การ “อุ้มหาย” ที่เห็นกันตามหน้าข่าว จริงๆ แล้วเป็นความผิดตามกฎหมายฐานใด และใครบ้างที่เป็นผู้เสียหาย
โซ่ตรวนนักโทษไทย ควบคุมตัวด้วยการลดทอนความเป็นมนุษย์
อ่าน

โซ่ตรวนนักโทษไทย ควบคุมตัวด้วยการลดทอนความเป็นมนุษย์

ไม่นานมานี้ กรมราชทัณฑ์ประกาศปลดโซ่ตรวนให้นักโทษ 563 คน แม้จะเป็นสัญญาณอันดี แต่ก็เป็นเพียงนโยบายนำร่องที่ใช้เฉพาะเรือนจำบางขวางเท่านั้น คุกอื่นทั่วประเทศไทย ยังคงใช้ “โซ่” ล่ามนักโทษเพื่อความสะดวกของเจ้าหน้าที่เรือนจำในการควบคุมดูแล 
จำคุกแบบใหม่ ใส่กำไลติดตามตัว ไม่ต้องเข้าห้องขัง
อ่าน

จำคุกแบบใหม่ ใส่กำไลติดตามตัว ไม่ต้องเข้าห้องขัง

กระทรวงยุติธรรมออกกฎใหม่ ใส่กำไลติดตามตัวให้นักโทษแก่ ป่วย ประพฤติดี มีครอบครัว จำกัดการเดินทางแต่ให้อยู่บ้านได้ มุ่งลดความแออัดของคุก จะดีกว่าหรือไม่ อย่างไร สังคมยังต้องทดลองและช่วยกันตั้งคำถาม 
ตุลาการผู้แถลงคดีชี้ ร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ
อ่าน

ตุลาการผู้แถลงคดีชี้ ร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ

ตุลาการผู้แถลงคดีศาลปกครองแถลงความเห็นว่าคำสั่งประธานรัฐสภา ที่ปฏิเสธไม่รับร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ของภาคประชาชนนั้นชอบด้วยกฎหมายแล้ว เพราะร่างกฎหมายนี้อยู่ในรัฐธรรมนูญหมวด 9 ว่าด้วยคณะรัฐมนตรี ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ
ศาลรธน.มีมติเอกฉันท์ ม. 112 ไม่ขัดรธน.
อ่าน

ศาลรธน.มีมติเอกฉันท์ ม. 112 ไม่ขัดรธน.

ศาลรัฐธรรมนูฐมีมติเอกฉันท์ มาตรา 112 ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ระบุเป็นกฎหมายเพื่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี ตามหลักนิติธรรมที่เป็นศีลธรรมหรือจริยธรรมของกฎหมาย อัตราโทษเหมาะสมได้สัดส่วน และย้ำว่าการกระทำขัดม. 112 ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐได้จริง
“โทษสูง น่าจะหลบหนี” เหตุผลยอดฮิตของการใช้โซ่ตรวนนักโทษในเรือนจำ
อ่าน

“โทษสูง น่าจะหลบหนี” เหตุผลยอดฮิตของการใช้โซ่ตรวนนักโทษในเรือนจำ

เรือนจำไทยใช้โซ่ตรวนกับนักโทษ บางแห่งใช้กับนักโทษประหาร นักโทษจำคุกตลอดชีวิต และนักโทษคดีความมั่นคง เพราะคดีมีโทษสูง ผู้ต้องขังน่าจะหลบหนีได้ กลุ่มทนายสามจังหวัดภาคใต้สะท้อนปัญหาสิทธิผู้ต้องขังในคดีความมั่นคง ถูกตรวนเท้าทันทีที่ก้าวเข้าห้องขัง
คดี “พิเศษ” อำนาจ “พิเศษ” ของดีเอสไอ [ตอน2]
อ่าน

คดี “พิเศษ” อำนาจ “พิเศษ” ของดีเอสไอ [ตอน2]

ขึ้นชื่อว่าเป็นคดีพิเศษแล้ว ความพิเศษอยู่ที่อำนาจเจ้าหน้าที่ดีเอสไอที่ไม่ธรรมดา ไม่มีกฎหมายฉบับใดที่อนุญาตให้ดักฟังโทรศัพท์ แฮ็กข้อมูล หรือกระทั่งปลอมตัวเข้าไปในองค์กรต่างๆ เพื่อหาข้อมูลได้แบบหนังฝรั่ง เว้นเสียจากเป็นเจ้าหน้าที่ดีเอสไอ
คดี “พิเศษ” อำนาจ “พิเศษ” ของดีเอสไอ [ตอน1]
อ่าน

คดี “พิเศษ” อำนาจ “พิเศษ” ของดีเอสไอ [ตอน1]

นอกจากตำรวจที่คอยจับผู้ร้ายแล้ว ประเทศไทยยังมี กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ ดีเอสไอ ที่รับผิดชอบคดีสำคัญและสืบสวนยากจนต้องการความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง บทวิเคราะห์นี้ ชวนติดตามคุณสมบัติและที่มาที่ไปว่า คดีแบบใดจึงเข้าข่ายเป็น “คดีพิเศษ”
“เด็ก” อยู่อย่างไร ภายใต้กฎหมายความมั่นคง?
อ่าน

“เด็ก” อยู่อย่างไร ภายใต้กฎหมายความมั่นคง?

เมื่อเยาวชนถูกจับกุม เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่พ่อแม่ นักจิตวิทยา หรือคนที่เด็กไว้วางใจจะเข้าฟังการสอบสวนด้วย แต่ด้วยเหตุผลแห่ง "ความมั่นคง" อำนาจพิเศษตามกฎหมายกลับเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ “ละเมิดสิทธิเด็ก” ได้