“แถลงข่าว”-“ทำแผนฯ” กับสิทธิผู้ต้องหา : อาชญากรรมที่รัฐเป็นคนก่อ
อ่าน

“แถลงข่าว”-“ทำแผนฯ” กับสิทธิผู้ต้องหา : อาชญากรรมที่รัฐเป็นคนก่อ

อาชญากรรมโดยรัฐคือการกระทำ อันกระทบซึ่งสิทธิและเสรีภาพของประชาชน จนเกิดความเสียหาย ทั้งนี้ "การแถลงข่าว"และ"ทำแผนฯ" ในปัจจุบันกลายเป็นส่วนหนึ่งการก่อเหตุของรัฐ และบางครั้งสื่อเองก็ทำหน้าที่ผลิดซ้ำโดยไม่รู้เลยว่า มันได้ตีตราให้คนในสังคมเชื่อว่าผู้ต้องหาคือผู้กระทำผิดอย่างแน่นอน
ห้องเวรชี้ : อุตสาหกรรมยุติธรรม
อ่าน

ห้องเวรชี้ : อุตสาหกรรมยุติธรรม

“ห้องเวรชี้” เป็นชื่อเรียกห้องพิจารณาคดีในศาล ที่ใช้สำหรับการพิจารณาคดีที่ถูกส่งมาขึ้นศาลเป็นวันแรก คดีที่จำเลยรับสารภาพและไม่มีรายละเอียดมากนัก ชะตากรรมของผู้ต้องหาจำนวนมากถูกจะตัดสินอย่างรวดเร็วที่ห้องเวรชี้นี้เอง โดยเจ้าหน้าที่ศาลและผู้พิพากษาจะทำงานกันอย่างเป็นระบบคล้ายสายพานโรงงานอุตสาหกรรม
A Forceful Attempt to have Article 112 Cases Tried in the Military Court
อ่าน

A Forceful Attempt to have Article 112 Cases Tried in the Military Court

The NCPO issued an announcement no. 37/2557 (2014), empowerd a Military Court jurisdiction over offences related to national security and monarchy as well as offences against its announcements and orders. However, there was an attemp to transfer cases that happen before the announcment no. 37/2557 to try in the military court on the ground that online offences are ongoing crime
เก็บตกเวทีเสวนา โทษประหารชีวิต เครื่องมือแก้ปัญหาอาชญากรรม?
อ่าน

เก็บตกเวทีเสวนา โทษประหารชีวิต เครื่องมือแก้ปัญหาอาชญากรรม?

"โทษประหารชีวิต" ยังคงเป็นประเด็นสำคัญในวงสนทนาเรื่องสิทธิมนุษยชน ทุกครั้งที่เกิดคดีข่มขืนและฆาตกรรม ก็ยิ่งมีข้อถกเถียงมากขึ้นว่า "โทษประหารชีวิตมีความจำเป็นหรือไม่?"   เวทีเสวนา "โทษประหารชีวิต เครื่องมือแก้ปัญหาอาชญากรรม?" อาจช่วยให้เรามองหาทางออกได้ว่า แท้จริงแล้ว การประหารชีวิต จะช่วยลดปัญหาการเกิดอาชญากรรมได้จริงหรือเปล่า หรือเป็นแค่วิธีการตอบแทนความต้องการบางอย่างเท่านั้นเอง?
คดีมาตรา 112 กำลังถูกเข็นให้ไปขึ้นศาลทหาร
อ่าน

คดีมาตรา 112 กำลังถูกเข็นให้ไปขึ้นศาลทหาร

คดีมาตรา 112 ที่เกี่ยวกับการโพสเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ตกำลังถูกตีความเพื่อให้ไปขึ้นศาลทหาร แม้การกระทำผิดจะเกิดขึ้นก่อนการรัฐประหาร แต่เนื้อหายังปรากฏอยู่จึงถูกตีความว่าความผิดยังคงเกิดต่อเนื่องจนปัจจุบัน ให้ไปพิจารณาที่ศาลทหาร ไม่ใช่ศาลพลเรือน
คู่มือการเยี่ยมผู้ถูกควบคุมตัวที่กองปราบ
อ่าน

คู่มือการเยี่ยมผู้ถูกควบคุมตัวที่กองปราบ

หลังการรัฐประหาร กองปราบคึกคักเป็นพิเศษ เพราะมีผู้ถูกควบคุมตัวจากการฝ่าฝืนประกาศเรื่องห้ามการชุมนุมของคสช. บางคนอาจอยู่นานถึงเจ็ดวันตามกฎอัยการศึก ซึ่งในช่วงเวลานี้ กำลังใจจากผู้มาเยือนเป็นสิ่งสำคัญ
คู่มือเยี่ยมผู้ต้องขัง เรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ
อ่าน

คู่มือเยี่ยมผู้ต้องขัง เรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ

ช่วงการเมืองร้อนแรงเรือนจำพิเศษกรุงเทพมีผู้ต้องขังด้วยข้อหาทางการเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อ่านวิธีการแวะไปเยี่ยมเยียนผู้ต้องขังดู จะได้รู้ว่าไม่ยากอย่างที่คิด
เรื่องของศาล : สัมผัสทางสายตา
อ่าน

เรื่องของศาล : สัมผัสทางสายตา

เรื่องเล่าเบาๆ ประเด็นความแตกต่างระหว่าง ศาลพลเรือนและศาลทหาร ที่ใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกวันอย่างนี้ก็เห็นจากในข่าวนั่นแหละ
Q&A 10 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับศาลทหาร
อ่าน

Q&A 10 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับศาลทหาร

ถาม-ตอบ 10 ข้อ เบื้องต้นเกี่ยวกับศาลทหาร แตกต่างจากศาลพลเรือนอย่างไร เพื่อจะได้เรียนรู้สถานการณ์ภายใต้กฎอัยการศึกอย่างเข้าใจ
ความเห็นศาลฎีกา : ความผิดเกี่ยวโยงกันให้ขึ้นศาลทหารได้หมด
อ่าน

ความเห็นศาลฎีกา : ความผิดเกี่ยวโยงกันให้ขึ้นศาลทหารได้หมด

ศาลฎีกาตั้งคณะกรรมการขึ้นมาพิจารณาแล้วมีความเห็นว่า ถ้าความผิดใดเกี่ยวโยงกับความผิดที่ คสช.ประกาศให้ขึ้นศาลทหาร ก็ให้ขึ้นศาลทหารได้หมด