อ่าน

เห็นพ้อง ความผิดละเมิดอำนาจศาล ควรลดโทษจำคุก-เพิ่มโทษปรับ สร้างความชัดเจนมาตรฐานเดียว

งานเสวนาเรื่องกฎหมายละเมิดอำนาจศาล ผศ.เอื้ออารีย์ ชี้สถานการณ์ปัจจุบันขาดความชัดเจน ลงโทษซ้ำจากการกระทำเดียว พิจารณาคดีโดยไม่อิสระ ขัดต่อหลักสากล จรัญ เห็นพ้องด้วยควรแก้กฎหมาย ย้ายออกจากป.วิ.แพ่ง ไม่เน้นโทษจำคุก สร้างมาตรฐานกลางสำหรับทุกศาลให้ประชาชนเข้าใจได้
อ่าน

เปิดสามเหตุผลศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องประชาชน กรณีถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

หลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ตั้งแต่ก่อนลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญคือเรื่อง การร้องตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญของผู้ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังจากประกาศใช้ศาลรัฐธรรมนูญยังไม่มีคำสั่งรับคำร้องโดยตรงจากผู้ถูกละเมิด จึงชวนมาดูเหตุผลกันว่าเหตุใดบ้างที่ศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่รับคำร้องของประชาชน
คำสั่งศาลปกครองคดีเดินมิตรภาพ : ผลิตผลของวัฒนธรรมทางกฎหมายที่มาจากเบื้องล่าง
อ่าน

คำสั่งศาลปกครองคดีเดินมิตรภาพ : ผลิตผลของวัฒนธรรมทางกฎหมายที่มาจากเบื้องล่าง

คำสั่งศาลปกครองคดีเดินมิตรภาพในแง่หนึ่ง คือ ผลิตผลของการต่อสู้ทางวัฒนธรรมทางกฎหมาย  เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่ากฎหมายไม่ได้เป็นแต่เพียงเครื่องมือของรัฐในการกดขี่ประชาชน แต่ในบางบริบท บางสถานการณ์ ประชาชนสามารถพลิกกลับและใช้กฎหมายควบคุมรัฐได้เช่นกัน และด้วยการใช้กฎหมายควบคุมรัฐในคดีเดินมิตรภาพ ประชาชนได้แสดงให้เห็นว่าแม้อยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบากภายใต้รัฐเผด็จการ การพยายามต่อสู้เพื่อสร้างวัฒนธรรมทางกฎหมายแบบเสรีประชาธิปไตยยังเป็นไปได้
เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้
อ่าน

เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้

เปิดงานศึกษาตัวอย่างจากอเมริกา เคยมีระบบประกันตัวเหมือนไทยแต่เปลี่ยนสำเร็จ มาใช้ระบบประเมินความเสี่ยงแทนการวางเงิน จัดตั้งสำนักสืบเสาะข้อมูลโดยเฉพาะเพื่อนำเสนอศาล เก็บข้อมูลได้จริง รวดเร็ว ประเมินผลค่อนข้างแม่นยำ หลบหนีน้อย ใช้งบน้อยกว่าเอาคนไปขังคุก 
ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว เข้าสู่การพิจารณาของ สนช. ในวาระแรก ซึ่งสมาชิกสนช.ได้ร่วมกันเสนอ โดยสาระสำคัญคือ ให้ศาลพิจารณาให้ประกันตัวผู้ตัองหา โดยไม่ต้องพิจารณาเรื่องหลักประกัน ทั้งนี้หากหนีประกันก็จะมีโทษอีกเช่นกัน 
ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน
อ่าน

ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน

เครือข่ายปฏิรูปการประกันตัวเพื่อคนจน จัดงานเสวนา “ปฏิรูปการประกันตัวเพื่อความเสมอภาคในสังคม : ร่วมกันแสวงหามาตรการทดแทนการขังระหว่างพิจารณา” เสนอเปลี่ยนระบบใช้เงินประกันตัว เป็นการออกแบบฐานข้อมูลประเมินความเสี่ยงหลบหนี ช่วยคนไม่มีเงินไม่ต้องติดคุก 
ศาลฎีกานักการเมืองฯ โฉมใหม่ เพิ่มเงื่อนไขเพียบมุ่งเอาผิดจำเลยหนีคดี
อ่าน

ศาลฎีกานักการเมืองฯ โฉมใหม่ เพิ่มเงื่อนไขเพียบมุ่งเอาผิดจำเลยหนีคดี

กฎหมายลูกเรื่องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกาศใช้แล้ว ให้ศาลเป็นผู้ค้นหาความจริงเอง ขั้นตอนรับฟังพยานหลักฐานยืดหยุ่นได้หมด เพิ่มเงื่อนไขเอาผิดจำเลยหนีคดี พิจารณาลับหลังได้ – ไม่จำกัดอายุความ ยื่นอุทธรณ์ได้อีกหนึ่งชั้น
ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?
อ่าน

ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?

หลังยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง เป็นการแก้ไขโดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้งและเป็นแก้ไขโดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่
ทางเลือกของคนทางเลือกน้อย: “กองทุนยุติธรรม” ช่วยคนไม่มีเงินประกัน – ถูกคุมขังฟรี
อ่าน

ทางเลือกของคนทางเลือกน้อย: “กองทุนยุติธรรม” ช่วยคนไม่มีเงินประกัน – ถูกคุมขังฟรี

ในอดีตปัญหาคนติดคุกฟรีถือเป็นเรื่องของความ "โชคร้าย" เพราะไม่มีกฎหมายกำหนดให้ภาครัฐเยียวยาผู้ที่ถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีที่ศาลพิพากษายกฟ้อง ในปัจจุบันสถานการณ์เปลี่ยนไปในทางที่ดีโดยมีการจัดตั้งกองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลือเงินประกันตัวกับผู้มีรายได้น้อยหรือเยียวยาคนถูกฝากขังที่อัยการสั่งไม่ฟ้องกับสำนักงานช่วยเหลือทางการเงินฯเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกคุมขังแต่ศาลยกฟ้องซึ่งการทำความรู้จักกับหน่วยงานทั้งสองน่าจะมีประโยชน์ในยาม 'ฉุกเฉิน'
ถนนยุติธรรมที่แสน “ขรุขระ” และ “ทอดยาว” ของผู้ต้องหาประชามติ
อ่าน

ถนนยุติธรรมที่แสน “ขรุขระ” และ “ทอดยาว” ของผู้ต้องหาประชามติ

21 มีนาคม 2560 ศาลจังหวัดราชบุรีสั่งห้ามจดบันทึกคำเบิกความและการสืบพยานคดีสติกเกอร์โหวตโน ความผิดตาม พ.ร.บ.ประชามติฯ แม้อาจจะลดการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม