เลือกตั้ง 62: ของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.

การเลือกตั้งในปี 2562 ภายใต้กติกาที่ คสช. ร่างขึ้น บีบรัดให้พรรคการเมืองพบกับความยากลำบาก เมื่อรวมกับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น กกต., ประกาศ คสช., อำนาจ ม.44 ฯลฯ ก็แทบจะเห็นได้ว่า การเลือกตั้งครั้งนี้ถูกออกแบบเพื่อให้เป็นการเลือกตั้งตามแบบของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.
กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งปี 62 อีสาน ส.ส. หาย 10 คน
อ่าน

กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งปี 62 อีสาน ส.ส. หาย 10 คน

จำนวน ส.ส. เขต หรือ ส.ส. ของแต่ละจังหวัดได้เปิดเผยออกมาแล้ว พบว่า มี 23 จังหวัดที่มีจำนวน ส.ส. ลดลงจากการเลือกตั้งปี 2554 และถ้าแบ่งตามภูมิภาค ภาคอีสานมีจำนวน ส.ส. ลดลงมากที่สุดถึง 10 คน ซึ่งจำนวน ส.ส. ที่ลดลงในการเลือกตั้งที่จะถึงในปี 2562 กระทบต่อสองพรรคใหญ่อย่าง พรรคเพื่อไทย และพรรคประชาธิปัตย์มากที่สุด
อ่าน

ตรวจแถวพรรคการเมือง ใครเป็นพรรค ‘กองหนุน’ พล.อ.ประยุทธ์

หลังการเลือกตั้งใกล้เช้ามา สิ่งที่ทุกคนเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดคือ ใครจะเป็นผู้ท้าขิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ มีพรรคการเมืองอย่างน้อย 9 พรรค ที่เปิดตัวแสดงจุดยืนเป็นกองหนุนให้กับ พลเอกประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีต่อไป โดยที่มาของผู้ร่วมก่อตั้งพรรคการเมืองกลุ่มนี้ล้วนประกอบไปด้วยบรรดาอดีตนักการเมือง กลุ่มกปปส. และกลุ่มข้าราชการ เป็นหลัก
อ่าน

4 ปี การละเมิดสิทธิภายใต้ คสช. ร้องนานาชาติจับตาการเลือกตั้งครั้งหน้า

งานถอดบทเรียนสิทธิมนุษยชนตลอด 4 ปี ภายใต้ คสช. ชี้หลักนิติธรรมล่มสลาย เผยตัวเลขผู้ถูกดำเนินคดีกว่า 1,138 คน สุนัย ผาสุก ย้ำ คำสัญญาของ คสช. ไร้ความหมาย เรียกร้องนานาชาติกดดัน และจับตาการเลือกตั้งครั้งหน้าให้เป็นไปโดยโปร่งใส
อ่าน

ข้อดี – ข้อเสีย ไพรมารี่โหวต ของ คสช.

ระบบไพรมารี่โหวต ถูกกำหนดให้พรรคการเมืองทุกพรรคต้องดำเนินการก่อนจะส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นว่าที่ ส.ส. พรรคการเมืองหลายพรรคทั้งเก่าและใหม่ต่างเห็นว่าระบบไพรมารี่โหวตจะเป็นอุปสรรคในการเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นข้างหน้า ซึ่งข้อดีและข้อเสียของระบบไพรมารี่โหวตแบบไทยๆ มีดังนี้
อ่าน

นับถอยหลัง ‘ภารกิจหนีตาย’ ที่ คสช. เขียน พรรคการเมืองเล่น

ท่ามกลางการลงพื้นที่ (หาเสียง) ของ พล.อ.ประยุทธ์ จันโอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) แต่พรรคการเมืองทั้งใหม่และเก่ายังไม่สามารถขยับตัวได้ เนื่องจากติดเงื่อนไขห้ามดำเนินกิจกรรมทางการเมืองตามประกาศคสช. ที่ 57/2557 และ คำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558 ทั้งนี้ หากไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษ ไม่ว่าจะเป็นโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ
ก้าวพ้น คสช. 9 เรื่องที่อาจเกิดขึ้นหลังคสช. ลงจากอำนาจ
อ่าน

ก้าวพ้น คสช. 9 เรื่องที่อาจเกิดขึ้นหลังคสช. ลงจากอำนาจ

สำหรับประเทศไทยภายใต้ คสช. ดูจะไม่มีอะไรแน่นอน แต่วันหนึ่งการเลือกตั้งย่อมเกิดขึ้นและ คสช. ก็ต้องลงจากอำนาจ เราจึงอยากชวนทุกคนมีความหวัง ลองจินตนาการเก้าเรื่องสำคัญที่อาจเกิดขึ้นเมื่อประเทศไทยกลับสู่ระบอบประชาธิปไตย
จบแล้ว คสช.! การเลือกตั้งเปิดพื้นที่ให้คนใหม่ คนเก่าปรับตัว ประชาชนมีตัวเลือก
อ่าน

จบแล้ว คสช.! การเลือกตั้งเปิดพื้นที่ให้คนใหม่ คนเก่าปรับตัว ประชาชนมีตัวเลือก

เราเห็นพรรคการเมืองใหม่เสนอการเป็นตัวเลือกที่แตกต่างจากอดีต เราเห็นพรรคการเมืองเก่าพยายามปรับตัวให้ทันสถานการณ์ เราเห็นคนหน้าใหม่ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงประเทศ การเลือกตั้งครั้งหน้าคือความหวังเราจะมีตัวเลือกและเลือกได้กว่าสี่ปีที่ผ่านมา
อ่าน

สี่ปี คสช. ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น กระจายอำนาจถอยหลัง ราชการแทรกแซงท้องถิ่น

การปกครองแบบ คสช. มีแต่แนวโน้มทำให้การปกครองส่วนท้องถิ่นอ่อนแอลง ราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาคกลับเติบโตขึ้นอย่างชัดเจน ขณะที่แผนการปฏิรูปประเทศก็ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นอย่างมีนัยยะสำคัญ แน่นอนว่า สี่ปีเต็มของ คสช. การกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นสู่ประชาชนถือว่าล้มเหลว
เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง …
อ่าน

เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง …

สนช. เห็นชอบ ร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. ตั้งแต่ 25 ม.ค.2561 ในทันที คสช.ก็สัญญาจะเลือกตั้ง ก.พ.2562 แต่อุปสรรคที่ทำให้ต้องเลื่อนการเลือกตั้งยังคงไม่จบ เพราะร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เจอข้อท้วงติงจากผู้มีอำนาจถึงเนื้อหาว่า อาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ ทำให้ร่างต้องถูกชะลอออกไปสองครั้ง และยังประกาศใช้ไม่ได้เสียที