เลือกตั้งนายกอบจ.ใหม่ “คนเก่า-คนใหม่-พรรคไหนมา”
อ่าน

เลือกตั้งนายกอบจ.ใหม่ “คนเก่า-คนใหม่-พรรคไหนมา”

นับจนถึงสิ้นปี 2567 จะมีการเลือกตั้งนายกอบจ.ก่อนครบวาระทั้งสิ้น 29 จังหวัด ซึ่งผลการเลือกตั้งมีทั้งคนเก่ารักษาเก้าอี้ได้ และมีคนใหม่เข้ามาช่วงชิงตำแหน่งได้ หรือเขามาสานต่อตำแหน่งจากคนเดิม
5 สาเหตุที่ทำให้ต้องเลือกตั้งนายกอบจ. ก่อนครบวาระ
อ่าน

5 สาเหตุที่ทำให้ต้องเลือกตั้งนายกอบจ. ก่อนครบวาระ

19 ธ.ค.2567 นายกอบจ.ทั้งประเทศจะหมดวาระ แต่มีเหตุให้อย่างน้อย 29 จังหวัดต้องเลือกตั้งนายกอบจ.ก่อนครบวาระ โดยสามารถสรุปสาเหตุของการเลือกตั้งใหม่ได้ดังนี้
เลือกตั้งท้องถิ่น : เตรียมพร้อมก่อนเลือกตั้ง อบจ. 1 กุมภาพันธ์ 2568
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น : เตรียมพร้อมก่อนเลือกตั้ง อบจ. 1 กุมภาพันธ์ 2568

เลือกตั้ง อบจ. 1 กุมภาพันธ์ 2568 ไม่มีเลือกตั้งล่วงหน้า ชวนทำความเข้าใจ – รู้กติกา ก่อนกลับบ้านไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
เลือกตั้งท้องถิ่น : เลือกตั้งอบจ. 1 ก.พ. 68 บางจังหวัดจะไม่ได้เลือกนายก อบจ.
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น : เลือกตั้งอบจ. 1 ก.พ. 68 บางจังหวัดจะไม่ได้เลือกนายก อบจ.

1 ก.พ.68 กกต. ประกาศเป็นวันเลือกตั้งอบจ. ทั่วประเทศ แต่ตั้งแต่ต้นปี 57 มีการทยอยเลือกตั้งนายก อบจ. ในหลายจังหวัด ทำให้ชวนสับสนว่า จังหวัดที่มีการเลือกตั้งนายก อบจ. ไปก่อนหน้านี้แล้วต้องเลือกตั้ง อบจ. อีกหรือไม่ในช่วงต้นปีหน้า
บทเรียนVote62 สังเกตการณ์การนับคะแนนและรายงานผล เลือกตั้งผู้ว่าฯกทม.
อ่าน

บทเรียนVote62 สังเกตการณ์การนับคะแนนและรายงานผล เลือกตั้งผู้ว่าฯกทม.

22 พฤษภาคม 2565 เป็นวันเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เว็บไซต์ Vote62.com เปิดให้ประชาชนช่วยกันไปสังเกตการณ์การเลือกตั้ง ทันทีที่แต่ละหน่วยนับคะแนนเสร็จ ได้รับการตอบรับอย่างดี เห็นได้จากปรากฏการณ์ที่มีคนจำนวนมากช่วยกันไปสังเกตการณ์การนับคะแนนที่หน่วยเลือกตั้งและรายงานผลเข้ามา
การออกแบบป้ายหาเสียงให้นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ไม่ผิดกฎหมายเลือกตั้ง
อ่าน

การออกแบบป้ายหาเสียงให้นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ไม่ผิดกฎหมายเลือกตั้ง

18 พฤษภาคม 2565 ศรีสุวรรณ จรรยา ได้เดินทางมายื่นคำร้องที่ กกต. ขอให้ไต่สวนสอบสวน “ชัชชาติ สิทธิพันธุ์” กรณีให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถนำป้ายหาเสียงไปรีไซเคิลเพื่อทำ “กระเป๋า-ผ้ากันเปื้อน”
2 วีรกรรม กกต. สร้างความสับสนในการเลือกตั้งกรุงเทพฯ เมืองพัทยา
อ่าน

2 วีรกรรม กกต. สร้างความสับสนในการเลือกตั้งกรุงเทพฯ เมืองพัทยา

แม้ว่าการเลือกตั้งกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาครั้งแรกตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2557 จะจบลงไปแล้ว แต่การทำหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้เป็นหัวเรือในการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งนี้ยังคงสร้างคำถามให้กับประชาชน ย้อนดูวีรกรรมของ กกต. ในการเลือกตั้งท้องถิ่นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ที่ผ่านมา
“เขาอยากไปต่อ” คสช. ทำอะไรไปบ้างกับเมืองพัทยาและกรุงเทพฯ
อ่าน

“เขาอยากไปต่อ” คสช. ทำอะไรไปบ้างกับเมืองพัทยาและกรุงเทพฯ

แม้ คสช. จะไม่มีอยู่แล้วในการเลือกตั้ง 22 พฤษภาคมที่จะถึงนี้ แต่ก็ยังมรดกของคณะรัฐประหารหลงเหลืออยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของกฎหมายหรือคนหน้าเก่า ชวนอ่านการ์ตูนย้อนดูมรดกคณะรัฐประหารในกรุงเทพฯ และเมืองพัทยา
เลือกตั้งพัทยา: การเลือกตั้งใหม่ในรอบ 10 ปี หลัง คสช. เข้ายึดครอง
อ่าน

เลือกตั้งพัทยา: การเลือกตั้งใหม่ในรอบ 10 ปี หลัง คสช. เข้ายึดครอง

เมืองพัทยาก็เป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่จะได้มีการเลือกตั้งนายกและสมาชิกสภาเมืองพัทยา หลังไม่มีการเลือกตั้งมาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี
ย้อนดูงบ กทม. ยุคผู้ว่าฯ และ ส.ก.แต่งตั้งจัดสรรงบยังไง?
อ่าน

ย้อนดูงบ กทม. ยุคผู้ว่าฯ และ ส.ก.แต่งตั้งจัดสรรงบยังไง?

ก่อนจะเข้าคูหาในวันที่ 22 พ.ค. 2565  ใช้สิทธิออกเสียงเลือกผู้ว่าฯ และส.ก. ชุดใหม่มาพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายกรุงเทพมหานครในปีงบประมาณถัดไป ชวนย้อนดูการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายกรุงเทพมหานครห้าปีงบประมาณที่เกิดจากการจัดสรรงบของผู้ว่าฯ และส.ก. ที่ประชาชนไม่ได้เลือก