เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือกฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์ (lèse-majesté law) กลายเป็นที่จับตาในเวทีนานาชาติ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 ไทยเข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งของสหประชาชาติที่เปิดให้ประเทศต่างๆ ร่วมกันเสนอข้อแนะนำเพื่อปรับปรุงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของชาติที่ถูกทบทวนได้ โดยมาตรา 112 ก็เป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกมาโดยต่างชาติ อย่างไรก็ดี ผู้แทนไทยก็ตอบกลับว่ามาตรา 112 เป็นภาพสะท้อนสังคมและประวัติศาสตร์ของไทยให้ความเคารพต่อสถาบันกษัตริย์ ดังนั้น กฎหมายจึงมีไว้เพื่อปกป้องสถาบันและความมั่นคงของชาติ ส่วนการแก้ไขทบทวนกฎหมายนั้นขึ้นอยู่กับประชาชนผ่านกลไกรัฐสภา
การกล่าวของผู้แทนไทยต่อชาติ
กระบวนการ UPR รอบที่สามนี้ไม่ใช่ครั้งแรกที่ผู้แทนไทยถูกต่างชาติท้วงติงและแนะนำให้แก้ไขกฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ ในช่วงเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา ไทยถูกนานาชาติและตัวแทนขององค์กรระหว่างประเทศวิพากษ์วิจารณ์เรื่องมาตรา 112 อย่างน้อย 22 ครั้ง ผ่านทั้งช่องทางของเอกราชทูตประจำประเทศไทย กลไกระหว่างประเทศ ไปจนถึงการออกแถลงการณ์แสดงความเป็นห่วงกับการใช้กฎหมายฉบับนี้ และในกระบวนการ UPR สองครั้งที่ผ่านมา ไทยปฏิเสธที่จะแก้ไขหรือยกเลิกมาตรา 112 ทุกครั้ง จึงไม่น่าแปลกใจนักหากรัฐบาลไทยจะปฏิเสธข้อเสนอแนะใดๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์อีกครั้งในรอบที่สามนี้
จากการติดตามท่าทีของผู้
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของไทย ไม่เหมือนใคร
ข้ออ้างแรก คือ การอ้างถึงความพิเศษของสังคมไทย โดยเฉพาะสายสัมพันธ์ระหว่
ในจดหมายตอบกลับผู้รายงานพิ
จดหมายเริ่มจากการกล่าวว่า สถาบันกษัตริย์ไทยมีประวัติ
การทรงงานอย่างหนักของกษัตริย์
กฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์หรื
จะเห็นได้ว่าการเน้นถึงอุ
ประเทศอื่นก็มี เสรีภาพจำกัดได้เพื่อความมั่นคง
อย่างไรก็ตาม คงจะเป็นการง่ายเกินไปที่รัฐทุ
ตัวแทนรัฐไทยจึงต้องพยายามรั
ข้ออ้างที่สอง จึงเป็นการอ้างถึงความเป็
พันธกรณีระหว่างประเทศที่ผู้
การอ้างถึงความสอดคล้องระหว่
หรือในกรณีการตัดสินจำคุก อำพล ตั้งนพกุล หรือ “อากง” เมื่อปี 2555 จากกรณีการส่
อย่างไรก็ตาม การอ้าง ICCPR ข้อ 19 ของผู้
เมื่อพิจารณาถึงมาตรา 112 ของไท
การเปรียบเทียบกฎหมายหมิ่
ตลอดเวลากว่าทศวรรษที่ผ่านมา ผู้แทนไทยก็ยังใช้ข้ออ้างทั้