สืบเนื่องจากที่ขณะนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 190 กำลังพิจารณาเพื่อแก้ไขเนื้อหาว่าด้วยการจัดทำข้อตกลงระหว่างประเทศ การพิจารณาอยู่ในขั้นตอนสำคัญที่ต้องเร่งพิจารณาหาข้อสรุปให้เสร็จในเวลาอันใกล้
เมื่อวันที่ 13 พ.ค. 56 โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw จัดการเสวนาสาธารณะ “การแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา190 อย่างไรเพื่อสร้างสังคมประชาธิปไตยอย่างแท้จริง” ร่วมเสวนาโดย ผศ.ดร.จารุพรรณ กุลดิลก กรรมาธิการวิสามัญ สังกัดพรรคเพื่อไทย ผศ.ดร.รัชดา ธนาดิเรก กรรมาธิการวิสามัญ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และนายจักรชัย โฉมทองดีรองประธานกลุ่มเอฟทีเอ ว็อทช์ ดำเนินรายการโดย ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข บรรณาธิการเว็บไซต์ประชาไท
นายจักรชัย โฉมทองดี รองประธานกลุ่มเอฟทีเอ วอทช์ กล่าวว่า การทำหนังสือสัญญาเป็นเรื่องที่
นายจักรชัย กล่าวว่า มาตรา 190 ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่
นายจักรชัยกล่าวว่า กรรมาธิการวิสามัญฯ อยู่ระหว่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยเห็นว่า หากเป็นข้อตกลงที่นำไปสู่การเปิ
นายจักรชัยกล่าวถึงวรรคท้ายในมาตรา 190 ที่ระบุว่าต้องมีการจัดทำกฎหมายลูกของรัฐธรรมนูญนั้น เป็นประเด็นสำคัญที่หวั่นว่าจะถูกแก้ไขในชั้นกรรมาธิการ ซึ่งกฎหมายลูกมีความสำคัญที่จะทำให้รายละเอียดว่าเรื่องใดต้องเข้าสภาหรือไม่นั้นมีความชัดเจนมากขึ้น
นายจักรชัยกล่าวว่า ในวรรคสามซึ่งกำหนดหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีก่อนการลงนามในหนังสือสัญญา มีคำที่สำคัญมากหายไปหนึ่งคำ คือ คำว่า “ให้ข้อมูล” ซึ่งในรัฐธรรมนูญปัจจุบันมีคำนี้อยู่ แต่ในร่างของกรรมาธิการคำนี้หายไป หากมีการรับฟังความคิดเห็นแต่ไม่มีการให้ข้อมูลจะมีปัญหา และเป็นการรับฟังความเห็นที่เสียเวลามาก
ทั้งนี้ ในการแก้ไขมาตรา 190 นี้ มีข้อเสนอให้มีคณะกรรมการวินิ
ผศ.ดร.รัชดา ธนาดิเรก กรรมาธิการวิสามัญ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์กล่าวว่า คนที่เสนอให้แก้มาตรา 190 มักมีเหตุผล เพราะทำให้ฝ่ายบริหารดำเนิ
ผศ.ดร.จารุพรรณ กุลดิลก กล่าวว่า มาตรา 190 มีปัญหาทำให้กระทรวงต่
ผศ.ดร.จารุพรรณยังกล่าวถึง การมีคณะกรรมการวินิจฉัยกรณีที่