“หมดจิตหมดใจจะใฝ่ฝัน
การสร้างสรรค์ย่อมสิ้นแผ่นดิ
กลัวน้ำตาไหลหลั่งดั่งน้ำนอง
ก็จะต้องเห็นแก่ตัวชั่วนิรันดร์…”
ย้อนกลับไปเมื่อ 10 ปีที่แล้ว เด็กหนุ่มสวมเสื้อสีดำคนหนึ่งขึ้
ชื่อของเขาคือ “แซม” พรชัย ยวนยี นักโทษทางการเมืองคนล่าสุดที่
แต่ด้วยเส้นทางการทำกิจกรรมที่ยาวนาน นี่จึงไม่ใช่ครั้งแรกที่แซมมีคดีความติดตัวหรือต้องนอนในห้องตะราง ย้อนกลับไปในปี 2558 แซมเคยถูกจับกุมฐานชุมนุมฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้า คสช. 3/2558 และเคยถูกฝากขังโดยศาลทหาร ในคดี “14 นักศึกษา” ด้วยข้อหามาตรา 116 จากการเคลื่อนไหวต่อต้านคณะรัฐประหาร กระทั่งมาในปี 2564 แซมก็ถูกตั้งข้อหาฝ่าฝืน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อีกจำนวนสี่คดี จากการร่วมเคลื่อนไหวกับกลุ่มทะลุฟ้า
ภายใต้ชื่อ “ทะลุฟ้า” แซมอาจไม่ใช่แกนนำเบื้องหน้าที่ผู้คนจดจำได้โดยทั่วไป แต่สำหรับสมาชิกหลายสิบคนที่เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในบ้านหลังเดียวกันเพื่อเข็นดันวงล้อการเมืองบนถนน แซมคือพี่ชายคนสำคัญที่ “ไผ่ ดาวดิน” เคยฝากฝังให้ช่วยดูแลน้องๆ เมื่อครั้งที่ไผ่ถูกจำกัดเสรีภาพอยู่ในเรือนจำนานกว่าหกเดือน
แม้เอกลักษณ์โดดเด่นของทะลุฟ้าคือการทุ่มเทขับเคลื่อนขบวนให้ไปข้างหน้าเรื่อยๆ อย่างบ้าพลัง แต่ทุกคราวที่พวกเขาพักรบเพื่อสังสรรค์ ภาพคุ้นตาของเหล่าสมาชิกคือการมานั่งล้อมวงจิบเบียร์-เล่นดนตรี ที่คลุกเคล้าไปด้วยเสียงบทกวีเติมกำลังใจ พร้อมซอยจุ๊รสเด็ด
ทว่า จนถึงตอนนี้ ชั่วโมงกวียามค่ำคืนของพี่แซมได้ห่างหายมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว
“ผมเป็นเพื่อนกับแซมสมัยเป็นนั
“ถ้าเรื่องคลาสสิคของแซม คือเรื่องตอนทำ สนนท. แซมจัดงาน รำลึก “35-53” 2 ทศวรรษ พฤษภาทมิฬ 2 ปี พฤษภาเลือด (20 พฤษภาคม 2555) ยุคนั้นเป็นยุคที่ สนนท. เคลื่อนไหวและแอคทีฟมากๆ สิ่งสำคัญในงานนั้นคือการขึ้นอ่
“อีกเหตุการณ์ธรรมดาๆ วันนั้นมีม็อบ 1 สิงหาคม 2564
“แซมอุทิศให้ขบวนมาโดยตลอด ตั้งแต่สมัยเป็นนักศึกษา เป็น สนนท. หรืออยู่กับเครือข่ายต่างๆ ถ้ามีพี่น้องมากรุงเทพฯ ก็จะให้มาอยู่ที่บ้าน จนเหมือนเป็นที่รู้กันว่าถ้
“ตอนที่ทะลุฟ้าเดินมากรุงเทพฯ (มีนาคม 2564) เราบอกแซมว่า ถ้าติดคุกไป ฝากดูน้องด้วยนะ เราคิดว่าเราน่าจะโดน เลยคิดว่าต้องมีใครมาดูแทน และเหตุการณ์ในครั้งนั้นก็ทำให้
“เราทำงานด้วยกันมานานเลยรู้
“คุณพลาดนะครับที่จับแซม พลาดแล้ว ฝากถึงคนอื่นๆ ในสังคม ถ้าความอยุติธรรมมันเกิดขึ้นกั
“สำหรับใครที่ไม่รู้จัก การเลือกตั้งครั้งหน้าก็อย่
“เราเป็นนักศึกษาซิ่ว ที่คณะนิติศาสตร์ มข. เลยได้มารู้จักกับกลุ่มดาวดิน พอพี่ไผ่ออกมาจากคุกรอบนั้
“ตอนนั้นมีปัญหาเรื่
“พอทำงานกับชาวบ้านอยู่ไม่ถึงปี เราก็ตั้งกลุ่มที่ชื่อว่
“หลังจากนั้น เราได้เจอกันอีกทีตอนพี่ไผ่
“เช้าๆ แกก็จะตื่นมากวาดบ้าน เก็บโต๊ะ เก็บนู่นเก็บนี่ บอกให้น้องๆ มาช่วยทำ แล้วแกก็นั่งสูบบุหรี่ (หัวเราะ) สไตล์แซมมี่ นั่งบ่น แต่ไม่ค่อยบ่นผมเท่าไหร่ น่าจะเพราะรู้จักกันตั้งแต่
“คิดถึงแกตลอดแหละ ไม่รู้ว่าอยู่ข้างในจะเป็นอย่
“เดิมทีผมเคลื่อนไหวอยู่กับพี่
“คืนก่อนวันที่พี่แอมมี่
“ไม่แน่ใจว่านี่คือสิ่งที่ประทับใจไหม แต่คืนที่เจอกับแกวันแรก ตอน 4-5 ทุ่ม มันเริ่มเข้าโหมดปรัชญา พี่แซมก็พูดว่า ‘พวกมึงจะไปรบ จะไปสู้กับรัฐ กันถึงกรุงเทพเนี่ย กูถามหน่อย… อย่าว่าอย่างนั้นอย่างนี้เลยนะ… มีใครทำลาบเป็ดเป็นบ้าง?’ เหมือนกับจะฮา แต่สายตาแกจริงจังมาก ถามแบบซีเรียสว่า ‘มีใครทำเป็นไหม ถ้าไม่เป็น ไปซื้อเป็ดเป็นๆ มาเลยตัวนึง’ สุดท้ายคืนนั้นก็มีเป็ดมาที่บ้านประมาณสามตัว แล้วแกก็สอนน้องๆ ทำลาบเป็ดทีละคน”
“แต่จริงๆ การทำอาหาร มันก็เป็นเครื่องมือในการสอนให้ใช้ชีวิตแบบรวมหมู่นะ วิธีการที่แกทำ การสอนน้องเรื่องขบวนการเคลื่อนไหว ผมรู้สึกว่ามันเรียล มันคืออัตลักษณ์ของแกจริงๆ แกเป็นเด็กจุฬาแต่บ้านเกิดอยู่ที่บึงกาฬ พอมาอยู่ที่กรุงเทพฯ แกไม่ได้เขินอายกับความเป็นอีสานแต่ภูมิใจด้วยซ้ำ เวลาพี่แซมไปที่ไหน ที่นั่นต้องมีซอยจุ๊ หรือถ้าอย่างดีต้องมีลาบเป็ด”
“สำหรับผม พอคนมันอยู่ด้วยกันทุกวัน รู้จักกัน ผ่านอะไรร่วมกันมาหลายๆ อย่าง มันก็โหวงๆ อยู่นะ อยู่ดีๆ พี่เราก็โดนจับเข้าคุกไป จริงๆ แกวางแผนว่าจะไปต่างประเทศกับแฟนและครอบครัวมาพักใหญ่แล้ว วางแผนว่าจะไปสร้างชีวิต ไปวางอนาคตอยู่ที่ต่างประเทศเรียบร้อยแล้ว แล้วอยู่ดีๆ ก็มาโดนพันธนาการในเรื่องที่ไม่เป็นเรื่อง”
“ในเรื่องการขับเคลื่อน แกก็คงจะบอกเหมือนเดิมว่าให้เคลื่อนกันต่อไป สู้กันต่อไปนี่แหละ เพราะบ้านเมืองหรือสังคมที่เราอยู่มันยังไม่เป็นประชาธิปไตย มันยังไม่มีแนวคิดที่มองว่าคนเท่ากันด้วยซ้ำไป ถ้าเราเชื่อในเรื่องนี้แล้ว เราต้องยืนยันต่อ”
“ถ้ามองในฐานะมิตร แกเป็นคนที่รักพวกพ้อง ถึงไหนถึงกัน เป็นคนตรงๆ ด้วย คิดอย่างไรก็อธิบายอย่างนั้น แต่ก็เข้าใจคนอื่นด้วยว่าทำไมเขาจึงคิดแบบนั้น เวลาแกอธิบาย สิ่งที่แกทำก็คือการยืนยันในสิ่งที่แกเชื่อ”
“ถ้ารัฐจะมองว่าสิ่งที่แกทำเป็นภัยความมั่นคง หรือถ้าสังคมจะมองว่าการเลือกยืนยันอธิบายความจริงแบบนี้เป็นสิ่งที่ผิด สำหรับผม ผมยืนยันอยู่ข้างแก และถ้าสุดท้ายสังคมจะยังเลือกมองแบบเดิมต่อไป ผมว่านี่คือสังคมที่วิปริต”
“จริงๆ พี่แซมเป็นมนุษย์ที่จะว่าเข้
“แกใส่ใจ แกสังเกตอยู่ตลอด แต่แกก็จะไม่พูดหรอก แกจะเก็บข้อมูลของแกไปเรื่อยๆ เรื่องของคนในบ้าน แกรู้ไว เช่น สองคนนี้กิ๊กกันปะเนี่ย (หัวเราะ) งอนกัน ทะเลาะกันปะเนี่ย อะไรแบบนี้”
“บทบาทในกลุ่ม แกเป็นที่ปรึกษาทุกด้านให้ทุกๆ ฝ่าย อาจจะเพราะมีประสบการณ์ชีวิ
“พี่แซมชอบพูดอยู่บ่อยๆ ว่า หลังจากที่เราชนะ อยากซื้อที่ดินซักผืนหนึ่งที่
“เรื่องที่พี่แซมถูกจับ ไม่เกินความคาดหมายหรอก คิดว่ายังไงแกก็น่าจะโดนซักวันหนึ่ง แต่ก็ไม่คิดว่าจะเป็นช่วงนี้ เพราะอย่างที่รู้ว่าแกมีแพลนจะไปต่างประเทศใช่ไหม แกก็เตรียมตัว เคลียร์คดีเก่าๆ ทำตัวเองให้เรียบร้อยและโปร่งใสที่สุดเพื่อให้ง่ายต่อการเดินทาง ไม่ต้องมีอะไรมาพะวงข้างหลัง แกทำตามขั้นตอนทุกอย่างเลยนะ ไม่คิดว่ารัฐจะมาเล่นแง่อะไรที่ผิดกระบวนการไปหมด เขาอ้างว่า ‘เคยส่งหมายเรียกมาสองครั้งแล้วแต่ไม่มีการรายงานตัว’ แต่ความจริงเจ้าตัวไม่เคยรับรู้ว่ามีหมาย แล้ววันที่ในหมายจับคือต้นปี (มีนาคม 2565) แต่นี่มันคือกลางปีแล้ว (กรกฎาคม 2565)”
“แกไม่ได้กลัวเรื่องโดนคดีหรอก ตัวแกเองก็รู้ว่าจะต้
“ผมเคยอยู่กับกลุ่มกิจกรรมหนึ่
“ตอนนั้นทะลุฟ้าอยากทำรถห้องน้ำ แต่ยังไม่มีคนช่วยออกแบบ ซึ่งเรามีความถนัดด้านนี้ พี่แซมเลยบอกว่า ‘คุณออกแบบจริง ผมทำจริง เราคนจริง มาคุยกัน’ เราก็เลยรู้สึ
“ถึงพี่แซมจะชอบบอกว่า ‘ผมไม่ใช่สายเยียวยา’ แต่แกเป็นคนที่แคร์น้องๆ และเป็นคนชอบสอดแทรกสิ่งที่
“ฉากที่ประทับใจคือวันที่ทะลุฟ้
“สำหรับผมมันก็เคว้งๆ เพราะตอนเข้ามาอยู่กับทะลุฟ้า ถ้ามีอะไรเราจะคุยกับพี่แซมตลอด ไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่บ้าน สุขภาพของตัวเอง หรือเรื่องเรียน ก็จะปรึกษาพี่แซมตลอด ถึงช่วงหลังๆ พอจะเดาสถานการณ์ได้ว่าจะเกิ
“สิ่งที่พวกเราทำ ก็ทำเพื่อต้องการให้สังคมดีขึ้น แต่สิ่งที่เขาขัดขวาง ด้วยการเอาพี่แซมเข้าไปในเรือนจำโดยที่ยังไม่รู้มูลเหตุว่าจริงไหม มันทำให้เรายิ่งเชื่อเหลือเกินว่าความยุติธรรมในยุคนี้ไม่มีอยู่จริง ตัวผมเองก็โดนฟ้อง ม.112 พอยิ่งรู้ว่าพี่แซมโดนฟ้องในคดีเดียวกันอีก มันก็ทำให้ยิ่งชัดเลยว่ากระบวนการมันไม่ซื่อและไม่มีความยุติธรรม”