สถิติการบุกรุกสถานที่ของเอกชน
โดยกองทัพหลังรัฐประหาร 2014
(เท่าที่ทราบ)
สถิติการบุกรุกสถานที่ของเอกชนโดยกองทัพหลังรัฐประหาร 2014
จำนวนครั้งที่เจ้าหน้าที่บุกสถานที่เอกชน |
183 แห่ง |
สถานที่ที่ถูกบุกรุกเกินสองครั้งขึ้นไป |
6 แห่ง |
จำนวนผู้ที่ถูกควบคุมตัวหลังการบุก |
53 คน |
ภูมิภาค | |||||
เหนือ |
อีสาน |
กลาง |
ตะวันออก |
ใต้ |
กทม. |
31 |
111 |
13 |
5 |
5 |
18 |
ประเภทสถานที่ที่บุก | จำนวน /แห่ง |
บ้านพัก | 66 |
อพาร์ทเม้นท์ คอนโด ทาวน์เฮาส์ หอพัก ฯลฯ | 7 |
สำนักงาน/อาคารธุรกิจค้าขาย ฯลฯ | 12 |
สถานีวิทยุ | 99 |
สวน/ไร่/นา | 1 |
ช่วงเวลาการบุกกรุก | จำนวน/แห่ง |
06.00 – 18.00 น. | 40 แห่ง |
18.00 – 06.00 น. | 17 แห่ง |
Unknown | 129 แห่ง |
รูปแบบการแต่งตัวของเจ้าหน้าที่ | จำนวน/แห่ง |
ใส่เครื่องแบบ | 16 แห่ง |
ทั้งใส่และไม่ใส่เครื่องแบบ | 2 แห่ง |
ไม่ใส่เครื่องแบบ | 3 แห่ง |
ไม่ทราบ | 166 แห่ง |
ความเกี่ยวข้องของสถานที่ แยกตามบทบาททางสังคม
ความเกี่ยวข้อง | จำนวน/แห่ง |
นักการเมืองหรือผู้มีความเกี่ยวข้อง | 8 |
นักวิชาการ/นักเคลื่อนไหวทางการเมือง | 59 |
ผู้ชุมนุมต้านรัฐประหาร | 5 |
สถานนีวิทยุชุมชน | 99 |
ไม่ทราบแน่ชัด | 12 |
ข้อมูลล่าสุด: วันที่่ 23 สิงหาคม 2557 เวลา 23.38 น.
**หมายเหตุ**
*เกณฑ์การนับการบุกรุกสถานที่เอกชนที่เกี่ยวข้องกับเหตุผลทางการเมือง
1 การบุกรุกนับตั้งแต่การแวะเวียนถามเคลื่อนไหวของบุคคลในสถานที่ต่างๆ กระทั่งบุกค้นทำลายทรัพย์สิน และจับตัวคนที่อยู่ในสถานที่นั่น
2 เป็นการบุกรุกที่เกิดขึ้นจากเหตุผลทางการเมือง เช่น การบุก/ค้นสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถูกคำสั่งเรียกของ ศสช. นักการเมือง หรือ บุคคลและกลุ่มบุคคลที่ทำการเคลื่อนไหวทางการเมือง เป็นต้น
3 เป็นการบุกรุกที่เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน
4 เป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐทั้งในและนอกเครื่องแบบ ภายใต้กฎอัยการศึก ประกาศของ คสช.ฉบับต่างๆ หรือ การใช้อำนาจตามอำเภอใจรูปแบบอื่นๆ
วิธีการรวมรวมข้อมูล
1 รวมรวมข้อมูลจากสื่อโทรทัศน์ วิทยุ และสิ่งพิมพ์ ทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์
2 รวบรวมผ่านทีมงานและเครือข่ายที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ต่างๆ
** ข้อมูลตามตารางนี้ เป็นความเคลื่อนไหวเท่าที่ทราบและสามารถยืนยันได้เท่านั้น
หากผู้อ่านพบเห็นหรือข้อมูลของการบุกรุกสถานที่ต่างๆ ของเจ้าหน้าที่รัฐ ช่วยกันแจ้งมาได้ที่ [email protected] หรือแจ้งวิธีการติดต่อกลับไว้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการช่วยเติมเต็มการเก็บข้อมูลเพื่อการติดตามสถานการณ์