หลังจาก คณะรัฐมนตรีมีมติรับหลักการร่
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2556 ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดงาน “อารยเสวนา ร่างพระราชบัญญัติมรดกทางวั
นักวิชาการ กังวล เนื้อหาในร่างฯ ปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์
นักวิชาการจากหลายสถาบัน นำโดย ศ.ดร.นราพงษ์ จรัสศรี จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.พรรณศักดิ์ สุขี และ ผศ.ดร.วรรณ์ขวัญ พลจันทร์ จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แสดงความกังวลต่อร่างพ.ร.บ. ดังกล่าวว่า หากเป็นกฎหมายออกมาบังคับใช้ เนื้อหาในร่างที่ดูจะเน้นเรื่
โดยผู้เข้าร่วมในที่ประชุมได้
นอกจากนี้ กลุ่มนักวิชาการได้เสนอว่า เพื่อให้เป็นมิตรกับคนสร้
ที่ประชุมยังได้ยกอีกประเด็นที่
สุดท้าย นักวิชาการตั้งถามต่อกระทรวงวั
กฤษฎีกาติง วธ.ต้องไม่บิดเบือนเจตนารมณ์ของอนุสัญญาฯ
ขณะที่ ณัฏฐณิชา เลอฟิลิแบร์ต นักกฎหมายภาคปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กล่าวว่า ร่าง พ.ร.บ.นี้เป็นตามที่
ในส่วนของบทลงโทษ ณัฏฐณิชา กล่าวว่า แต่ละรัฐจะเป็นผู้กำหนดบทลงโทษเอง เช่น ประเทศจีนรัฐกำหนดให้เป็นความผิดทางอาญา ขณะที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นการลอกอนุสัญญามาเป็นกฎหมาย ขณะที่บทกำหนดโทษมาตรา 40 ของร่าง พ.ร.บ.มีความซ้ำซ้อนกับบทบัญญัติในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 อย่างไรก็ตามทางกฤษฎีกาจะต้องไปดูว่าจะใช้มาตรา 112 แทนได้ไหม
กระทรวงวัฒนธรรม เชื่อ ร่างฉบับนี้ยังสามารถแก้ไขได้อีก
ส่วนของกระทรวงวัฒนธรรม ที่นำทีมโดย นางเรวดี สกุลพาณิชย์ และเทิดศักดิ์ สีสมาน ได้ชี้แจ้งในประเด็นต่างๆ ว่า ที่หลายคนมีความกังวลกับร่
สำหรับคำถามที่ว่า ทำไมประเทศไท
อย่างไรก็ดี อนุสัญญาฯ ฉบับนี้ต้องการให้เราตระหนักถึ
ก่อนหน้านี้ กระทรวงวัฒนธรรม ได้เคยมีการจัดรับฟังความคิดเห็
ตัวแทนจากกระทรวงวัฒนธรรมได้กล่
ไฟล์แนบ
- Draft Law (476 kB)