22 ก.ย. 66
การทำประชามติครั้งแรกเพื่อถามประชาชนว่าอยากได้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่ ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนเพราะคำถามที่ไม่ดีอาจจะทำให้กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญทำได้อย่างไม่ราบรื่น หรือไม่เป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เลวร้ายที่สุด ก็อาจจะถึงขั้นแพ้ประชามติ และปิดประตูการมีรัฐธรรมนูญใหม่ไปอีกหลายปี
22 ก.ย. 66
ชวนดูไทม์ไลน์การทำงานของกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ควบคู่กับการทำงานของกกต. ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า การรวบรวมรายชื่อของประชาชนทั้งระบบออนไลน์และระบบกระดาษสามารถทำได้ในเวลาเพียงสั้นๆ
21 ก.ย. 66
วันที่ 20 กันยายน 2566 “ภาคีกฎหมายภาคประชาชน 3 ฉบับ เพื่อความเป็นธรรมทางเพศ” แถลงข่าวภายใต้หัวข้อ “3 มิราเคิลลอว์ สลัดทิ้งโลกขมขื่นที่ล้าหลัง” ตั้งแต่เวลา 10.50 น. เป็นต้นไป ณ ห้องอเนกประสงค์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อเปิดตัวการนำเสนอร่างกฎหมายสามฉบับ คือ
21 ก.ย. 66
20 กันยายน 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญได้รับหนังสือจากสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ว่าได้ดำเนินการตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอจัดทำประชามติเสร็จเรียบร้อยแล้วในวันที่ 19 กันยายน 2566 หลังจากนี้ สำนักงาน กกต.
21 ก.ย. 66
“มาตรฐานทางจริยธรรม” เป็นเครื่องมือในการสืบทอดอำนาจอีกชิ้นหนึ่งของ คสช. ที่เอาไว้ควบคุมนักการเมือง แม้โดยกฎหมายจะบังคับใช้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระด้วยก็ตาม แต่อำนาจในการออกมาตรฐานทางจริยธรรม การดำเนินคดี และการลงโทษล้วนอยู่ในมือของศาลและองค์กรอิสระทั้งสิ้น นับจนถึงคดีล่าสุดของ
19 ก.ย. 66
ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เคยผ่านวาระหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง 2562 นั้น "ตกไป" แล้ว การจะผลักดันกฎหมายสมรสเท่าเทียมให้เกิดขึ้นจริงได้จึงต้องเสนอร่างใหม่ ซึ่งมีร่างจากภาคประชาชนและร่างจากพรรคการเมืองพร้อมเสนอเข้าสภาแล้ว