-
เรื่องราวของการซ้อมทรมานหรืออุ้มหายผู้ต้องสงสัย นักเคลื่อนไหว หรือผู้ลี้ภัยทางการเมือง ปรากฏขึ้นบ่อยครั้งในหน้าข่าวของไทย ตั้งแต่การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนในปี 2547 และการอุ้มหายต้าร์-วันเฉลิม ...
-
อาชญากรรมเกี่ยวกับเพศ เป็นหนึ่งในปัญหาสังคมไทยที่ปรากฏตามหน้าสื่อบ่อยครั้ง และสร้างความวิตกกังวลให้กับประชาชนเป็นวงกว้าง เนื่องจากรูปแบบของการกระทำความผิดดังกล่าวกระทบต่อเนื้อตัวร่างกายและจิตใจของผู้ถูกกระทำ บ้างกระทบต่อทรัพย์สิน ...
-
ในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 15.00 น. ศาลรัฐธรรมนูญจะอ่านคำวินิจฉัยคดี ล้มล้างการปกครองฯ อันสืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2563 ที่ ณฐพร โตประยูร ในฐานะประชาชนคนไทยคนหนึ่งยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้ศาลสั่ง เลิกการกระทำ ...
-
แม้ประเด็นบทบาทพระมหากษัตริย์ในการเมืองหรือประเด็นสาธารณะ จะถูกพูดถึงอยู่บ้างในอดีต แต่ก็มักจะออกมาในรูปแบบของงานวิชาการ เช่น การศึกษาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ: การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยชนิดา ชิตบัณฑิตย์ ...
-
นับจนถึงต้นเดือนตุลาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ออกข้อกำหนดเพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั้งสิ้น 34 ฉบับ ...
-
การปรากฏตัวขึ้นของกลุ่มผู้ชุมนุม ทะลุแก๊ซ เมื่อช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ได้นำไปสู่การปะทะอย่างต่อเนื่องระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ณ บริเวณแยกดินแดง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นส่งผลให้มีการจับกุมผู้ชุมนุมซึ่งรวมถึงเด็กและเยาวชนจำนวนมาก ...
-
การทรมานและการอุ้มหายเป็นหนึ่งในปัญหาของสังคมไทยมาเป็นเวลานาน ถึงแม้ว่าไทยจะเป็นภาคีของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and other Cruel, Inhuman or Degrading ...
-
เสรีภาพในการชุมนุม (Freedom of Assembly) เป็นหลักสากลที่ได้รับการรับรองทั่วโลกในฐานะสิทธิมนุษยชนพื้นฐานของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ที่จะสามารถรวมตัวแสดงออกเรียกร้องความต้องการของตนเอง ...
-
14 สิงหาคม 2564 เวลา 14.00 16.00 น. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ การประกันตัวผู้ต้องหาคดีอาญา: มุมมองและข้อสังเกต ประกอบด้วยวิทยากรสองราย คือ ศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล อาจารย์ประจำประจำคณะนิติศาสตร์ ...
-
จากการสลายชุมนุมหรือวิธีควบคุมการชุมนุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ตั้งแต่ต้นปีจนถึงเดือนสิงหาคม 2564 ผู้ชุมนุมต้องเผชิญกับการใช้กำลังของตำรวจเข้าสลายการชุมนุม ทั้งด้วยปืนฉีดน้ำแรงดันสูง แก๊สน้ำตา จนถึงการใช้อาวุธปืนยิงด้วยกระสุนยาง ...