-
สถิติการบุกรุกสถานที่ของเอกชนโดยกองทัพหลังรัฐประหาร 2014(เท่าที่ทราบ)สถิติการบุกรุกสถานที่ของเอกชนโดยกองทัพหลังรัฐประหาร 2014จำนวนครั้งที่เจ้าหน้าที่บุกสถานที่เอกชน183 แห่งสถานที่ที่ถูกบุกรุกเกินสองครั้งขึ้นไป6 ...
-
ในสถานการณ์ปกติ เมื่อมีการกุมจับตัวบุคคลไม่ว่าด้วยเหตุใดหรือข้อหาใด เจ้าหน้าที่ตำรวจมีอำนาจกักตัวไว้ได้ไม่เกิน 48 ชั่วโมง หากเกินกว่านี้ต้องนำตัวไปศาลเพื่อขอให้ศาลออกหมายฝากขัง หากไม่มีหมายฝากขังก็ต้องปล่อยตัวไปในสถานการณ์ที่ไม่ปกติ ...
-
คู่มือการปฏิบัติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)กรณีถูกเรียกให้ไปรายงานตัว ผู้ถูกเรียกตัวและญาติควรปฏิบัติ ดังนี้ แจ้งญาติ เพื่อน คนใกล้ชิด เมื่อไปรายงานตัวควรมีญาติหรือคนใกล้ชิดเดินทางไปด้วยมากกว่าหนึ่งคน ...
-
หนุ่มเรดนนท์อดีตผู้ต้องขัง เรือนจำพิเศษกรุงเทพไม่ว่าจะเป็นวันอะไร วันหยุด เสาร์ อาทิตย์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ หรือวันธรรมดา พวกเราในคุก จะตื่นในเวลาเดิมเสมอ คือเริ่มตั้งแต่ 6 โมงเช้า เป็นต้นไป เราเรียกว่าเวลาตรงนี้ว่า เวลาเปิดขัง อย่าคิดเลยนะว่า ...
-
หลังจาก iLaw ปล่อยแคมเปญการประกวดชุดนักโทษใหม่ ภายใต้แนวคิด นักโทษก็เป็นคน ซึ่งจะปิดรับไอเดียวันที่ 30 เม.ย. 57 และประกาศในเดือน พ.ค. 57 ก็มีคำวิพากษ์วิจารณ์ทั้งเห็นด้วยและเห็นต่างตามมา ซึ่งล้วนน่ารับฟัง ...
-
หนุ่ม เรดนนท์เรือนจำ คือสถานที่ที่ใช้ในการควบคุมตัวผู้กระทำความผิดในคดีความต่างๆ โดยจะแบ่งกว้างๆ คือ เป็นเรือนจำชาย และเรือนจำหญิง ทั้งนี้เพื่อให้สะดวกในการดูแลจัดการ และไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร เพราะคงไม่มีการนำผู้ต้องขังชาย ...
-
แม้หลายองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนพยายามรณรงค์ยกเลิกโทษประหารชีวิตด้วยเหตุผลที่ว่าโทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิที่จะมีชีวิตซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ อีกทั้งยังเป็นการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม และย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ...
-
เรื่องการบังคับให้บุคคลสูญหาย เป็นสิทธิมนุษยชนที่ยกเว้นไม่ได้ เป็นสิทธิที่สมบูรณ์ รัฐไม่อาจอ้างสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือสถานการณ์ใดๆ เพื่อให้มีสิทธิอุ้มหายได้ผศ.ดร.ปกป้อง ศรีสนิท กล่าวในงานเสวนา 10 ปีทนายสมชาย นีละไพจิตร สูญหายโดยถูกบังคับ วันที่ 12 ...
-
หลังกลุ่มกปปส.ประกาศ SHUT DOWN กรุงเทพฯ เพียงสัปดาห์เดียว รัฐบาลก็ประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 ให้มีผลเป็นเวลา 60 วัน นับตั้งแต่ 22 มกราคม 2557 เป็นต้นไป ...
-
หลังจากที่ประเทศไทยลงนามและให้สัตยาบันในอนุสัญญาการต่อต้านทรมานฯเมื่อปี 2550 (CAT) ประเทศไทยมีหน้าที่ต้องดำเนินการแก้ไขด้านบริหาร ตุลาการ และนิติบัญญัติเพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญา เช่น การบัญญัติให้การทรมานเป็นความผิดตามกฎหมายในประเทศ ...