-
กรณีเสียบบัตรแทนกันของ ฉลอง เทอดวีระพงศ์ ส.ส.พรรคภูมิใจไทย จังหวัดพัทลุง ที่ออกมายอมรับว่าไม่ได้อยู่ประชุมสภา เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2563 แต่มีชื่อว่าลงคะแนนโหวต วาระ 2 และ 3 ร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. .... ...
-
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ เป็นหัวข้อที่ทุกคนพูดถึงกันอยู่ ณ ปัจจุบัน ทั้งจากฝ่ายรัฐบาลเองหรือฝ่ายค้าน พรรคการเมืองหลายพรรคก็ได้เริ่มรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญกันแล้ว ขณะที่ภาคประชาชนหลายกลุ่มก็เริ่มเคลื่อนไหวเรื่องนี้เช่นกัน แม้รัฐธรรมนูญปี 2560 ...
-
รัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี 2540 ได้ระบุว่า คลื่นความถี่ถือเป็น ทรัพยากรสาธารณะ เป็นสมบัติที่ต้องจัดสรรเพื่อใช้ร่วมกันระหว่างรัฐ เอกชน และกิจการเพื่อสาธารณะประโยชน์ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุด ...
-
นับแต่การรัฐประหารในปี 2557 ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ยึดครองอำนาจทางการเมือง และพยายามสร้างระบอบการปกครองที่กองทัพแผ่ขยายอำนาจเข้าไปยังสถาบันทางการเมืองต่างๆ รวมทั้งวางฐานอำนาจไว้ในกฎหมายสูงสุดอย่างรัฐธรรมนูญ ที่ชัดเจนที่สุด คือ ...
-
มาตรา 256 ของรัฐธรรมนูญ 2560 หรือมาตราที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการแก้รัฐธรรมนูญ คือ กุญแจสำคัญในการปลดล็อกการเมืองไทยออกจากวังวนอำนาจของคสช. และพาประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มไปได้อีกครั้ง ด้วยเหตุนี้ ...
-
24 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมร่วมของรัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสภาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) และ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ได้ลงมติวาระสอง (ลงมติแก้ไขรายมาตรา) ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ..) พุทธศักราช .... ...
-
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ถูกตั้งขึ้นภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ ที่ผ่านมา ประเทศไทยมี กสม. มาแล้วอย่างน้อย 3 ชุด โดยชุดที่ 3 เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2558 ...
-
24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 ...
-
ในเดือนกันยายน 2563 รัฐสภามีนัดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแก้ไขเพิ่มเติม หรือ ร่างแก้รัฐธรรมนูญ อย่างน้อยสองฉบับ ได้แก่ร่างของพรรคร่วมฝ่ายค้านที่นำโดยพรรคเพื่อไทย และร่างของพรรคร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคพลังประชารัฐ ...
-
สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นแนวคิดที่ถูกริเริ่มในรัฐธรรมนูญ ปี 2540 ที่ต้องการส่งเสริมประชาธิปไตยทางตรงโดยให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการออกกฎหมาย ซึ่งในรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ก็ยังคงให้การรับรองสิทธิดังกล่าวไว้ โดยมีพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ...