-
กำหนดให้สมาชิกอบต.ในแต่ละหมู่บ้านมีสัดส่วนหญิงชายอย่างละเท่าๆ กัน ในกรณีที่หมู่บ้านนั้นๆ มีจำนวนสมาชิกเป็นเลขคี่ก็กำหนดให้มีเพศใดเพศหนึ่งไม่เกินสองในสาม
-
รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีองค์การอิสระเพื่อผู้บริโภคมากว่าสิบปีแล้ว ผู้บริโภคทั้งผลักทั้งดัน ทั้งร่างกฎหมายมาเข้าชื่อเสนอกันเอง โดยหวังว่าจะมีองค์กรช่วยเหลือดูแลแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ
-
เมื่อโลกอยู่ในยุคที่อธิปไตยเหลือน้อยลงทุกที จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกฎหมายว่าด้วยการจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศที่มีการกำหนดกรอบอำนาจรัฐและรับรองสิทธิของประชาชนต่อการกระทำสัญญาระหว่างประเทศ ตามรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 190
-
เครือข่ายภาคประชาชนกว่าสิบองค์กรรวมตัวหน้าทำเนียบยื่นจดหมายถึงนายกรัฐมนตรี ผลักดันร่างกฎหมายประชาชน 9 ฉบับ ก่อนหมดสมัยการประชุมสภาครั้งแรกในอีก 17 วัน
-
สิบกว่าปีมาแล้วที่รัฐธรรมนูญเปิดช่องให้ประชาชนเขียนกฎหมายได้เอง ภาคประชาสังคมก็กระตือรือล้นในการมีส่วนร่วมนี้ แต่จนวันนี้ก็ยังไม่มีกฎหมายใดที่มาจากการผลักดันของประชาชนหมื่นชื่อเลยแม้สักฉบับเดียว
-
เครือข่ายประชาชนหลากหลายเครือข่าย ร่วมกันยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภา ขอให้ช่วยเห็นชอบนำร่างกฎหมายที่มาจากการเข้าชื่อ 10,000 ชื่อทั้ง 9 ฉบับ มาพิจารณาต่อ
-
ภิกษุณีชี้ พุทธประวัติไม่เคยกำหนดห้ามมีภิกษุณี แต่สังคมไทยตีความในทางกลับมายาวนาน นักวิชาการสตรีศึกษาเสริม สถาบันภิกษุณีจะช่วยเยียวยาหลายปัญหาในสังคมไทย ด้านพระหัวก้าวหน้าชี้ ภิกษุไม่ควรวางตัวเหนือผู้หญิง
-
คปพร.รวบรวมชื่อกว่าสองแสน เสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ เอาหมวดอื่นของฉบับ2540 กลับมาใช้ แต่ก้าวแรกที่ประชาชนเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญยังไม่ผ่านโหวตในสภา
-
ผู้บริโภคห่วง กลัวรัฐบาลลืมกฎหมายองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคพร้อมร่วมมือ กันเรียกร้องรัฐบาลให้เดินหน้ากฎหมายฉบับนี้เวที"ผ่าทางตัน ร่าง พ.ร.บ.องค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค"
-
งานสัมมนาวันต่อต้านการทรมานสากล นักกฎหมายสิทธิเสนอร่างพ.ร.บ.ต่อต้านการทรมาน ตั้งกรรมการพิเศษขึ้นดูแล เจ้าหน้าที่รัฐประสานเสียงค้าน ระบุไม่ได้ผลจริง ใช้กลไกที่มีอยู่ก็ได้