เชิญชวนทุกท่านร่วมสร้างสรรค์กฎหมาย
เพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของทุกคน
iLaw.or.th
register
log in
ชื่อผู้ใช้:
*
รหัสผ่าน:
*
ลืมรหัสผ่าน
หรือเข้าสู่ระบบผ่าน
ค้นหา:
เข้าสู่ระบบ
block-mainmenu-2019
Home
Hot Issues
Articles
Laws Monitoring
Law Petitions
Participate
Idea
Poll
Activities
Roundup
Multimedia
Home
» Participate
ฉันอยาก เสนอ/แก้ไข กฏหมายในเรื่องนี้ ...
ฉันอยาก เสนอ/แก้ไข กฎหมายในเรื่องนี้
'คิด' ใช้งานอย่างไร? »
ไอเดีย
วันที่เสนอ
ความนิยม
ชื่อเรื่อง
สุดยอดความคิด
วงจรอุบาทว์ของ พรบ.นิรโทษกรรม (แบบเหมาเข่ง)
ช่วงนี้สิ่งที่เป็นประเด็นใหญ่ในสังคมและก่อให้เกิดการกระเพื่อมไหวมากที่สุดอันหนึ่งก็คือ การยื่นเสนอร่าง พรบ. นิรโทษกรรม (แบบเหมาเข่ง) โดย สส.วรชัย เหมะ หลายๆ ภาคส่วนต่างออกมาให้ความเห็นและแสดงจุดยืนต่างๆ นานา ซึ่งโดยส่วนตัวมองว่า ...
0 ความคิดเห็น
katewin
30 ต.ค. 2556
หมวดหมู่:
การเมือง
เสนอการลงโทษผู้กระทำผิดในอัตราก้าวหน้า
ผู้ที่ทำผิดเมื่อถูกตัดสินโทษไปแล้ว และเมื่อพ้นโทษออกมาก็ทำผิดแบบเดิมอีก ซึ่งแสดงถึงความไม่รู้สำนึกของผู้ที่ทำผิดเอง ดังนั้นในการลงโทษครั้งต่อไปควรมีการลงโทษที่แรงขึ้นเรื่อยๆ ตามจำนวนการทำผิด เช่น ครั้งแรก จำคุก 1 ปี ครั้งที่ 2 ก็จำคุก 2 ...
5 ความคิดเห็น
mrkosit
7 ก.ค. 2552
หมวดหมู่:
คุณภาพชีวิต
อยากให้มีกฎหมายสำหรับคนรักเพศเดียวกัน
อยากให้มีกฎหมายสำหรับคนรักเพศเดียวกัน ไม่ต้องจดทะเบียนสมรสอะไรก็ได้ อยากให้กฎหมายรับรองสิทธิให้คนสองคนสามารถทำแทนกันได้ บางเรื่องมันเกี่ยวข้องกับความเป็น-ตาย แล้วทำอะไรไม่ได้นอกจากยืนดูเค้าตายจากไป กฎหมายบทนี้ไม่ได้เกี่ยวกับการรบกวนใครเลย ...
0 ความคิดเห็น
KuNniiE
19 พ.ค. 2555
หมวดหมู่:
สิทธิมนุษยชน
นักการเมือง ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการทหาร ผู้บริหารสื่อ ต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินต่อปปช.
ผู้ดำรงตำแหน่งในฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายนิติบัญญัติ ข้าราชการระดับสูง ผู้นำกองทัพ เจ้าของและผู้บริหารสื่อ ...
0 ความคิดเห็น
poll
2 ก.ค. 2552
หมวดหมู่:
การเมือง
รัฐไม่ควรออกกฎหมายบังคับให้ใส่หมวกกันน็อค ควรใช้วิธีรณรงค์มากกว่า
กฎหมายหมวกกันน็อค ช่วยแก้ปัญหาให้รัฐแต่เพิ่มหาให้ประชาชนหรือเปล่า? สาเหตุการเสียชีวิตที่เกิดจากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ส่วนใหญ่เกิดจากสมองกระแทกกับพื้นโดยตรงและไม่มีเครื่องป้องกัน จากปัญหาที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ทำให้ในปี 2537 -2538 นายอาทิตย์ ...
0 ความคิดเห็น
iLaw
26 ก.ย. 2556
หมวดหมู่:
คุณภาพชีวิต
แก้ไขกฏหมายประกันสังคม ให้สวัสดิการของแรงงานนอกระบบมีความเท่าเทียมกับแรงงานในระบบ
แก้ไขกฏหมายประกันสังคม ให้สวัสดิการของแรงงานนอกระบบมีความเท่าเทียมกับแรงงานในระบบ นี่คือหนึ่งในข้อเสนอจากคนเล่นเน็ตทางบ้านที่เคยตอบไว้ใน
0 ความคิดเห็น
poll
2 ก.ค. 2552
หมวดหมู่:
แรงงาน
แก้พ.ร.บ.ภาพยนตร์ พ.ศ.2551 ให้ทันสมัย ส่งเสริมผู้ผลิตและคุ้มครองผู้บริโภคอย่างแท้จริง
พ.ร.บ.อัปลักษณ์ที่เร่งเรียบผลัดดันก่อนรัฐบาลค.ม.ช.หมดอำนาจจากคนไม่กี่คนที่มีแนวคิดเผด็จการโดยไม่รับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างแท้จริง..จะเห็นว่าระบบเรตติ้งที่วางกัน1ปีไม่ได้พัฒนาหลักการของระบบเซ็นเซอร์ให้เป็นสากลแต่กลับมีการริดรอนสิทธิประชาชนมา ...
0 ความคิดเห็น
llมu_lมืoJสยาม
7 ก.ค. 2552
หมวดหมู่:
สิทธิมนุษยชน
เสนอยกเลิกตู้โทรศัพท์สาธารณะ แล้วตั้งระบบโทรศัพท์ฉุกเฉินขึ้นใช้แทน
ทุกวันนี้ทุกคนมีโทรศัพท์มือถือกันหมด และค่าโทรศัพท์ก็มีแนวโน้มถูกลง มีโปรโมชั่นเยอะขึ้น ทำให้โทรศัพท์สาธารณะแบบหยอดเหรียญลดความสำคัญลงแล้ว (แบบใช้บัตรหายไปนานแล้ว) กรณีที่คนจะใช้บริการโทรศัพท์สาธารณะก็เฉพาะกรณีฉุกเฉิน โทรศัพท์หาย ...
0 ความคิดเห็น
Aowpow
9 ก.ค. 2556
หมวดหมู่:
คุณภาพชีวิต
ให้สามจังหวัดชายแดนใต้เป็นเขตปกครองตัวเอง
รัฐไทยเป็นรัฐเดี่ยวที่ปกครองภายใต้โครงสร้างแบบรัฐรวมศูนย์ โดยนำรูปแบบมาจากการปกครองอาณานิคมของอังกฤษและดัทช์ในภูมิภาคนี้ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ระบอบการปกครองดังกล่าวไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยที่มีความแตกต่างหลากหลาย ...
8 ความคิดเห็น
iLaw
3 มี.ค. 2553
หมวดหมู่:
การเมือง
แก้พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ขอเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายสสส. เพื่อให้บริหารงานอย่างมีธรรมาภิบาล มีการตรวจสอบถ่วงดุลที่มีประสิืทธิภาพ และชัดเจนว่าไม่ได้ใช้เงินของกองทุนไปเล่นการเมือง พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พ.ศ. 2544 (แก้ไขล่าสุดเมื่อปี 2545) ...
3 ความคิดเห็น
chungking
30 ก.ย. 2552
หมวดหมู่:
คุณภาพชีวิต
« first
‹ previous
…
5
6
7
8
9
10
11
12
13
…
next ›
last »
หมวดหมู่
กระบวนการยุติธรรม
การเมือง
การศึกษา
คุณภาพชีวิต
เทคโนโลยี
ผู้หญิง
เยาวชน
แรงงาน
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
สิทธิมนุษยชน
สื่อ
อื่น ๆ
ดาวน์โหลด
แบนเนอร์
คลิกที่นี่
Connect
iLaw Social Media
Facebook iLaw
Twitter iLaw
Instagram iLawClub
Google+ iLaw
iLaw TH
iLaw Freedom Social Media
Facebook iLawFX
Twitter iLawFX
Flickr iLawFX Freedom